1 / 12

BIOL OGY

BIOL OGY. วิทยาศาสตร์ ม.2. สื่อการเรียนรู้ ภาควิชาชีววิทยา. หลักสูตร โรงเรียนจุฬา ภรณ ราชวิทยาลัย ปทุมธานี (โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค). จัดทำโดย ด.ญ. พรธิ ตา ไกรเวช. ระบบย่อยอาหาร. ระบบในร่ายกายมนุษย์และสัตว์.

bud
Télécharger la présentation

BIOL OGY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BIOLOGY

  2. วิทยาศาสตร์ ม.2 สื่อการเรียนรู้ ภาควิชาชีววิทยา หลักสูตร โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค) จัดทำโดย ด.ญ. พรธิตา ไกรเวช

  3. ระบบย่อยอาหาร

  4. ระบบในร่ายกายมนุษย์และสัตว์ระบบในร่ายกายมนุษย์และสัตว์ เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือ แม้เต่สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ เซลล์มีรูปร่าง ขนาด รวมทั้งจำนวนเซลล์แตกต่างกันในแต่ละชนิดของสิ่งมีชีวิต การที่สิ่งมีชีวิตต้องการอาหารและอากาศเพื่อยังชีพนั้น แท้จริงแล้วคือความต้องการของเซลล์

  5. การย่อยอาหาร • การย่อยอาหารมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ การย่อยเชิงกล Mechanical Digestion การย่อยเชิงเคมี Chemical Digestion เป็นกระบวนการทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่ และการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีต่อไป โดยการบดเคี้ยว รวมทั้งการบีบตัวของทางเดินอาหาร การย่อยเชิงกลนี้ ขนาดของโมเลกุลยังเล็กไม่เพียงพอที่ถูกดูดซึมเข้าไปเซลล์ เป็นการย่อยคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีนให้มีโมเลกุลขนาดเล็กลง การย่อยเชิงเคมีเป็นกระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง น้ำย่อยหรือ เอนไซม์ กับโมเลกุลของสารอาหาร

  6. โครงสร้างระบบย่อยอาหารโครงสร้างระบบย่อยอาหาร

  7. ระบบย่อยอาหาร ลิ้น รับรสชาติอาหาร คือ รสหวาน รสเค็ม รสเปี้ยวและ รสขม • ปาก บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง ฟัน น้ำลายมีเอนไซม์อะไมเลสย่อยสารอาหารเฉพาะคาร์โบไฮเดรต เป็นน้ำตาล ดังสมการด้านล่าง ต่อมน้ำลาย ฟันถาวร ฟันน้ำนม อะไมเลส แป้ง + น้ำลาย เดกซ์ทริน + มอลโทส (แป้งขนาดเล็กลง) (น้ำตาลโมเลกุลคู่) 32 ซี่ 20 ซี่

  8. ระบบย่อยอาหาร • หลอดอาหาร ประกอบขึ้นด้วยกล้ามเนื้อเรียบที่สามารถบีบตัวเป็นจังหวะในขณะที่มีอาหารผ่านลงมา จึงทำหน้าที่ในการลำเลียงอาหารขากช่องปากผ่านคอหอยลงไปยังกระเพาะอาหารทางเดินอาหาร ส่วนนี้ไม่สามารถสร้างน้ำย่อย แต่สามารถหลั่งสารเมือกช่วยหล่อลื่น

  9. ระบบย่อยอาหาร • กระเพาะอาหาร ย่อยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีนเป็นสำคัญ โดย เอนไซนม์เพปซินทำให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง เรียกว่า เพปไทด์ซึ่งก็ยังไม่สามารถดูดซึมได้ • เพปซิน • โปรตีนเพปไทด์

  10. ดูโอดินัม (Duodenum) ระบบย่อยอาหาร • ลำไส้เล็ก ผนังลำไส้เล็กสามารถสร้างน้ำย่อยได้หลายชนิด ลำไส้เล็กส่วนดูโอดินัมได้รับน้ำย่อยมาจากตับอ่อนและรับน้ำดีมาจากตับ น้ำดีช่วยให้โมเลกุลของไขมันแตกตัวเป็นก้อนเล็กลง ทำให้เอนไซม์ไลเพส ย่อยไขมันได้เร็วขึ้น เจจูนัม(Jejunum) อิเลอัม (Ilenum)

  11. ระบบย่อยอาหาร • ลำไส้เล็ก ส่วนของคาร์โบไฮเดรตที่เกิดขึ้นจากการย่อย (ในปาก) ยังไม่สมบูรณ์ จะถูกย่อยไปเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ส่วนของโปรตีนที่เกิดขึ้นจากการย่อยในกระเพาะอาหารยังไม่สมบูรณ์ จะถูกย่อยต่อไปจนสามารถดูดซึมได้ เรียกว่า กรดอะมิโน ส่วนของไขมัน จะถูกย่อยต่อไปเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล ส่วนโมเลกุลขนาดเล็กที่สุดของสารอาหารแต่ละชนิดที่ถูกย่อยในลำไส้เล็กนี้ จะถูกดูดซึมเข้าไปในเซลล์ การย่อยอาหารในลำไส้เล็กจะเกิดได้ดีในภาวะที่เป็นเบส โดยอาศัยสารเบสโซเดียมไบคาร์บอเน็ต (NaNCO3)จากตับอ่อน

  12. ระบบย่อยอาหาร • ลำไส้ใหญ่ ประกอบด้วย ซีคัม(Caecum) ไส้ติ่ง(Appendix) และ โคลอน(Colon) เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้าย ส่วนนี้ไม่มีการย่อยอาหาร เพราะไม่มีความสามารถในการสร้างน้ำย่อย หน้าที่ส่วนใหญ่ของลำไส้ใหญ่จึงเป็นการดูดซึมน้ำ เกลือแร่ และวิตามินบางชนิด ลำไส้ส่วนท้ายๆ จะทำหน้าที่ในการเก็บกากอาหาร ก่อนที่จะขับผ่านทวารหนักออกไป

More Related