1 / 27

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับ แผน บูรณา การกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับ แผน บูรณา การกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558. นายแพทย์กฤษฎา มโหทาน นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ การพัฒนาแนวทางเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” ปี 2558 ณ โรงแรมคลาสสิค คามิโอ อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Télécharger la présentation

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับ แผน บูรณา การกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับแผนบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 นายแพทย์กฤษฎา มโหทาน นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาแนวทางเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 2558 ณ โรงแรมคลาสสิค คามิโอ อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 17-19 กันยายน 2557

  2. Road Map การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข • ระยะเร่งด่วน • โครงการรวมใจปรองดองสมานฉันท์ • การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น • สร้างขวัญกำลังใจ • ธรรมมาภิบาลและกลไกตรวจสอบ ถ่วงดุล • บำบัดรักษา ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และการเฝ้าระวังควบคุมการใช้ วัตถุเสพติด • ระยะกลาง • การปฏิรูประบบเขตบริการสุขภาพ • การปฏิรูประบบการเงินการคลัง • พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพ • การพัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย • การพัฒนากลไกสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุข (NHAB) • เสริมสร้างความพร้อมรองรับประชาคมอาเซีย • พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนแรงงานต่างด้าว • ระยะยาว • จัดทำแผนการลงทุนของกระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย.58) – 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2557 (มิ.ย.-ก.ย.) • ได้พบแพทย์ รอไม่นาน อยู่ใกล้ ไกลได้รับยาเดียวกัน • ผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสิทธิปลอดภัย • ผู้สูงอายุและคนพิการได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่อง • มีกลไกการอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม • ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมจิตใจ ได้รับการเยี่ยวยา • ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กำหนด • มีกลไกกำหนดและกำกับนโยบายสาธารณสุขในระดับชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสิทธิรักษาพยาบาลระหว่างกองทุน • มีระบบบริการแบบเขตบริการสุขภาพ 12 เขต • ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ระบบบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ประชาชนได้รับการส่งต่อแบบเบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อในเขตบริการสุขภาพ • ประชาชานทั่วไปมีภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจ • ระบบบริการของประเทศมีศักยภาพรองรับประชาคมอาเซียน • ประชาชนในพื้นทีชายแดน ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ประชาชนได้รับความเท่าเทียมในการรับบริการ • ระบบสุขภาพมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมาฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข • ประชาชนได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายด้านสุขภาพ

  3. วิสัยทัศน์ ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั่งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน พันธกิจ 1) กำหนดนโยบาย มาตรฐาน กฎหมาย และบริหารจัดการบนฐานข้อมูลที่มีคุณภาพและการจัดการความรู้ รวมถึงการติดตามกำกับประเมินผล (Regulator) 2) จัดระบบบริการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงบริการศูนย์ความเป็นเลิศที่มีคุณภาพครอบคลุม และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ (Provider) เป้าหมาย 1) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและจัดระบบบริการ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย • กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) /สตรี • กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) • กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) • กลุ่มวัยทำงาน • กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ • บุคลากร • การเงินการคลัง • ยาและเวชภัณฑ์ • ระบบข้อมูล • การบริหารจัดการ • การเข้าถึงบริการ • คุณภาพบริการ • คุณภาพการบำบัดรักษา

  4. บูรณาการงบประมาณ กสธ 5 กลุ่มวัย 4 ระบบ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.ระบบบริการ 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2.ระบบควบคุมโรค 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4.กลุ่มวัยทำงาน อย. 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรมวิทย์ฯ 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ สบส. อนามัย

  5. คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 5

  6. นโยบาย หลักการ การบูรณาการยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (25 มี.ค. 57) • ร่วมวางเป้าหมายและยุทธศาสตร์ การบูรณาการแต่ละด้าน • ร่วมจัดเรียงลำดับความสำคัญ • ร่วมจัดทำแผนงาน/โครงการ ผลิต กิจกรรม ระบบงบประมาณให้ชัดเจน เสนอขอปรับปรุงกับสำนักงบประมาณต่อไป • ร่วมบูรณาการ การบริหารจัดการงบประมาณ ขาขึ้น และขาลง • ร่วมคัดเลือกตัวชี้วัดที่จะใช้ในการติดตามประเมินผล (M&E)ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสุขภาพประชาชนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมีเป้าหมายให้ระดับพื้นที่ มีจำนวนตัวชี้วัดน้อยลงกว่าเดิม

  7. การขับเคลื่อนจุดเน้น 5 ปี สู่การปฏิรูปกรมควบคุมโรค กรอบแนวคิดการจัดทำจุดเน้น 5 ปี สู่การปฏิรูปกรมควบคุมโรค M&E จุดเน้น (Policy Agenda) • ประเด็นการพัฒนาเชิงระบบ • Surveillance • KM/KT/STD/TA • HRD • ประเด็นโรคและภัยสุขภาพ • โรค A • โรค B • โรค C • ......... มาตรการการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการลดโรคและภัยสุขภาพ พื้นที่ดำเนินการ (Setting) ที่เป็นเป้าหมาย คุณลักษณะอำเภอเข้มแข็งควบคุมโรคA, B, C…….. อำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง อำเภอที่เป็นพื้นที่ปกติ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ***อำเภอเข้มแข็งต้นแบบที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรค โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเองอย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) มีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี

  8. 11 บทบาท ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57 การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูลและฐานความรู้ การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ การกำหนดและรับรองมาตรฐานบริการต่าง ๆ การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพประชาชน การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศหน่วยสื่อสารความรู้และขับเคลื่อน การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ การกำหนดนโยบาย และจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ

  9. 1) National Lead Policy Negotiation Strategic Implement Major Operational Plan Initiative 2) Model Development Technology Assessment CPG , Standard , Registration Law Enforcement Accreditation 3) Surveillance ดี - สถานการณ์ เสี่ยง - อัตราเสี่ยง / ป่วย ป่วย - อัตราตาย - เข้าถึงบริการ, ครอบคลุม - มีคุณภาพ 4) Technology Transfer Deployment To How, Social Communication 5) M&E, Problem Solving, Evaluation 5 หน้าที่ -Health Authorities ของกรม / สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  10. คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 10

  11. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สู่เครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ รสอ.

  12. ผลการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนผลการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน บูรณาการสู่ระบบสุขภาพอำเภอ ปีงบประมาณ 2557

  13. ที่มา: สำนักบริหารการสาธารณสุข, (รอบ 9 เดือน)

  14. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554 - 2557 ทั้งประเทศ จำนวนอำเภอ 878 ทั่งประเทศ ที่มา : ประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th/ ข้อมูล ณ วันที่ 3 กันยายน 2557

  15. การดำเนินงานอำเภอเข้มแข็งภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ(DHS) ปี 57 ตามรายเขตบริการสุขภาพ (รอบ 9 เดือน) ร้อยละผ่านเกณฑ์ ที่มา : ประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th/ ข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557

  16. ประเด็นปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่เลือกดำเนินการ 5 อันดับแรก ที่มา : จากการประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th

  17. ข้อค้นพบเบื้องต้น • การสื่อสารขาดประสิทธิภาพไม่ชัดเจนและไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะหน่วยปฏิบัติในพื้นที่ เกิดความสับสนเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงาน • ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการป้องกันควบคุมโรคของบุคลากร ทำให้ยังให้ความสำคัญต่อการขับเคลื่อนงาน ไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร • การ Key-in online ของบุคลากรยังแยกส่วนการรายงานระหว่าง DHSและอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ • รายละเอียดของเกณฑ์การประเมินมาก ทำให้ต้องมีเอกสาร/หลักฐานที่ต้องประกอบจำนวนมาก อีกทั้งซ้ำซ้อนกัน (คุณลักษณะที่ 5 กับคุณลักษณะอื่น) • ขาดแรงจูงใจของบุคลากรในพื้นที่ • โรคและภัยบางประเด็นจำเป็นต้องใช้เวลาดำเนินการนานกว่าจะเห็นผล ซึ่งไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่คาดหวังสูง (ผลกระทบ) ซึ่งน่ามีตัวชี้วัด Process ของการดำเนินงานร่วมประกอบด้วย ที่มา: การสำรวจความคิดเห็นของเครือข่ายต่อการพัฒนาระบบสุขภาพและอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2557

  18. ทิศทางการดำเนินงาน ปี 2558

  19. คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 20

  20. อำเภอดำเนินการ DHS ประเด็นเฝ้าระวังโรค ได้อย่างมีมาตรฐาน (สำหรับอำเภอชายแดน มีข้อกำหนดเพิ่มเติม) ยุทธศาสตร์บูรณาการระบบควบคุมป้องกันโรคตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้ • ศักยภาพทีม SRRT • SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร • ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • มีระบบข้อมูล Real time • พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ • ระบบเฝ้าระวัง • บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) • พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย จังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด • ประชากรต่างด้าว • พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว • จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน • ช่องทางเข้าออก • ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก • ระบบบริหารจัดการ • สมรรถนะ • สุขภาวะชายแดน • พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ

  21. “เส้นทาง” ส่งมอบคุณค่า จากกรมฯ ... สู่เครือข่าย Value chain ปัจจุบัน ปี 2558 กรม คร. เขตตรวจ กรม คร. เขตตรวจ • สำนัก/สถาบัน • Policy & Model Development • Surveillance / Survey / M&E ภาพรวมประเทศ ต้นน้ำ สำนัก/สถาบัน (R&D) คณะกรรมการ ระดับเขตฯ • สคร. • Technical Transfer • Surveillance / Survey / M&E ภาพรวมเขต กลางน้ำ สำนักงานเขตสุขภาพ สคร.(M&E) ปลายน้ำ จังหวัด จังหวัด

  22. แนวทางสำคัญที่กรมควบคุมโรคสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายแนวทางสำคัญที่กรมควบคุมโรคสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่าย 1. ส่งมอบมาตรการที่สำคัญ (Intervention/Innovation) แบ่งเป็นมาตรการร่วมและมาตรการเฉพาะ 2. บูรณาการสิ่งที่สนับสนุนต่อเครือข่าย: มาตรฐาน (คลินิก/ตำบลจัดการสุขภาพ/อำเภอสุขภาพดี)คู่มือ ศักยภาพผู้ประเมิน หลักสูตร 3. เพิ่มคุณภาพการสื่อสารกับจังหวัด/เครือข่าย 4. M&E อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

  23. Q & A

  24. ขอบคุณครับ

  25. DHS เป้าหมายกระทรวง : ร้อยละของอำเภอที่มี DHS เชื่อมโยงบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (>ร้อยละ 80) DHS/DC เป้าหมายกรมควบคุมโรค : ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 90)

  26. รายละเอียดงบประมาณจำแนกรายเขต สคร. ที่มา : จากการคำนวณตามจำนวนอำเภอที่รับผิดชอบของแต่ละ สคร.

More Related