1 / 37

การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1. การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ. 2558. 22 พฤษภาคม 2556. ขอบเขตของการนำเสนอ. ทบทวนผลการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 กรอบแนวคิดในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561)

kimama
Télécharger la présentation

การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ. 2558 22 พฤษภาคม 2556

  2. ขอบเขตของการนำเสนอ • ทบทวนผลการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 • กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) • การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ • การกำหนดกลยุทธ์ต่างๆภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ • แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ.2557 – 2560 • บทสรุป

  3. กระบวนการจัดทำร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 3

  4. กรอบแนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลำปางกรอบแนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลำปาง กระบวนการพัฒนาแผนจังหวัดลำปาง พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ แผนชุมชน ทบทวนสังเคราะห์ข้อมูล จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค SWOT IFAS, EFAS, SFAS ระบุศักยภาพจังหวัดลำปาง ผลกระทบ๑๐ปี ผลกระทบ ๑๕ ปี TOWS Matrix ผลกระทบ ๒๐ ปี สำรวจปัญหาความต้องการ ผลกระทบ๓ปี ทบทวนแผนจังหวัดลำปาง ร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง ฉบับใหม่ ทบทวนแผนชุมชน ผลกระทบ ๔ ปี ทบทวนแผนจังหวัดเดิม แผนพัฒนาจังหวัด (ฉบับวิสัยทัศน์ ๒๐ ปี) ผลกระทบ ๕ ปี

  5. กระบวนการดำเนินการ การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ผลลัพธ์ ลงพื้นที่หาข้อมูลทุติยภูมิ นำเสนอโครงการ เปิดตัวโครงการ ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๑ (กบจ. + ภาคี) ทบทวน +SWOT ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๒ (กบจ. + ภาคี) กรอบร่างแผนพัฒนาลำปาง การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๓ (กบจ. + ภาคี) แปลงแผนสู่แผนปฏิบัติ ประชุมสัมมนาฝึกอบรมทักษะพัฒนาบุคลากร (นอกสถานที่) ๒ วัน ประชาคม + ยืนยันแผน ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๔ (กบจ. + ภาคี) ร่างแผนยุทธศาสตร์แผนพัฒนาจังหวัดลำปางปี๒๕๕๘ ๒๕๖๑แผนปฏิบัติปี๕๘+ ข้อเสนอแนะ การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น สัมมนาฝึกอบรมบุคลากรและดูงานนอกสถานที่ ๒ วัน ร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปางฉบับใหม่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ และ แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ร่างแผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๑

  6. กรอบแนวคิดในการวางยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการวางยุทธศาสตร์ IFASEFAS SFAS Environment Scanning แสกนสิ่งแวดล้อม S o W T ปัจจัยทั้งระบบ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผน ระบุตำแหน่ง แผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ IFAS= Internal Factor Analysis Summary EFAS =External Factor Analysis Summary SFAS=Strategic Factor Analysis Summary ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ KPI KPI KPI KPI

  7. การวิเคราะห์ SWOT Analysis 7

  8. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (จุดแข็ง) 1. จุดแข็งข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.จุดแข็งข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.จุดแข็งข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.จุดแข็งข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.จุดแข็งข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.จุดแข็งข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 7.จุดแข็งข้อ 7 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................

  9. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (จุดอ่อน) 1.จุดอ่อนข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.จุดอ่อนข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.จุดอ่อนข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.จุดอ่อนข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.จุดอ่อนข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.จุดอ่อนข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 7.จุดอ่อนข้อ 7 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 8.จุดอ่อนข้อ 8 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................

  10. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (โอกาส) 1.โอกาสข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.โอกาสข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.โอกาสข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.โอกาสข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.โอกาสข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.โอกาสข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................

  11. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (ภัยคุกคาม) 1.ภัยคุกคามข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.ภัยคุกคามข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.ภัยคุกคามข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.ภัยคุกคามข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.ภัยคุกคามข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.ภัยคุกคามข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................

  12. ผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 12

  13. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561

  14. แนวโน้มปัญหาและโอกาสในอีก 4 ปีข้างหน้า • ปัญหาเรื่องผลกระทบทางมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม • ขณะที่ปัญหาด้านสังคมและอาชญากรรมในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งต้นตอของปัญหาเกิดจากปัญหาการว่างงาน มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การย้ายถิ่นฐานจากคนต่างถิ่น เป็นต้น • การสร้างและการว่าจ้างแรงงานคนนอกท้องถิ่น ซึ่งได้รับการร้องเรียนและการต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ • ปัญหาแรงงานแฝงที่เกิดขึ้นคิดเป็นร้อยละ 10 หรือประมาณ 0.10 เท่าของประชากรจริง • ปัญหาเรื่องคุณภาพของแรงงานที่เข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมซึ่งขาดแคลนทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ • ประเด็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากค่าแรง 300 บาทและต้นทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งเงินเฟ้อที่เพิ่ม 1.8 เป็น 2.5 บาท • ปัญหาจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของโลก ภูมิภาคและประเทศซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการผลิตและการจำหน่ายผลผลิตของจังหวัดลำปาง รวมทั้งกระทบต่อการท่องเที่ยวของจังหวัด • ขณะที่ประเด็นเกี่ยวกับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ รวมถึงต้นทุนผลกระทบต่างๆ ทำให้การเข้ามาลงทุนหรือทำธุรกิจในจังหวัดลำปางมีต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะเพิ่มต้นทุนและลดแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการ • การเตรียมการกลายเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอีก 3 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2558) ที่ประเทศไทยจะเปิดเสรีร่วมกันกับอีก 9 ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นต้น

  15. การวิเคราะห์ตำแหน่งยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561

  16. การวิเคราะห์ทิศทางการจัดทำยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปางการวิเคราะห์ทิศทางการจัดทำยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปาง ทิศทางยุทธศาสตร์ปี 53-56: มุ่งตอบสนองปัญหา ความต้องการของประชาชนในภาคส่วนต่างๆ และการกระตุ้นอุตฯเซรามิกและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทิศทางยุทธศาสตร์ปี 58-61: มุ่งที่จะพัฒนาจังหวัดให้เติบโตและพัฒนาโดยการสร้างความแตกต่างเชิงอนุรักษ์โดยบูรณการหลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เทคโนโลยีสะอาดและเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ รองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • เหตุผล : • โอกาสจากการสนับสนุนของภาครัฐและความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและการผลิตรวมทั้งเปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะส่งจังหวัดอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม • อุปสรรคจากการคุกคามจากต่างชาติและการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุจะส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนและความมั่นใจด้านการลงทุน การท่องเที่ยวและการค้าภายในจังหวัด การเปลี่ยน แปลงศักยภาพและสภาพ แวดล้อม สูง ต่ำ มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามสูงแต่ศักยภาพยังเหมาะสมต้องเพิ่มกลยุทธ์เพิ่มขีดความสามารถมากขึ้น Efficiency มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามสูงและศักยภาพเปลี่ยนแปลงมากต้องเปลี่ยนยุทธศาสตร์ใหม่ Radical Change มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามต่ำ ยังสามารถเติบโตจากยุทธศาสตร์เดิมได้อีก Continuous มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามต่ำ สามารถเติบโตและขยายเป้าหมายใหม่ๆได้ New Target ต่ำ สูง การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์

  17. บทสรุป ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 17

  18. แผนพัฒนาจังหวัดลำปางพ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑ ร่างวิสัยทัศน์ (ใหม่ ) แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) วิสัยทัศน์ “เมืองแห่งนครเซรามิก (และหัตถอุตสาหกรรม) สู่เกษตรสร้างสรรค์ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมวิถีลำปางเชื่อมโยงสู่ประตูอาเซียน” ภายใต้แนวคิด “นครลำปาง เป็นเลิศด้านเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรม โดดเด่นด้านการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ผู้นำด้านการผลิตเกษตรปลอดภัย ร่วมสร้างสังคมลำปางอยู่ดีตามวิถีพอเพียง” (A Happiness City with place of Eco-Tourism and Global Quality and Standard of Agriculture Product, including Green Industry with Social Responsibility, and Effectively Contributing to ASEAN Economic Community) โดยยึดหลัก “การเป็นเมืองสืบสานวัฒนธรรมลำปาง – สร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่สมดุลและยั่งยืน – ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คงไว้ปรับปรุงใหม่

  19. แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 19

  20. พันธกิจของจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 1. พันธกิจข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2. พันธกิจข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3. พันธกิจข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4. พันธกิจข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5. พันธกิจข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. เสริมสร้าง พัฒนาและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันให้อุตสาหกรรมเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรมให้โดดเด่นและมีประสิทธิภาพเหนือคู่แข่งทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 2. พัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพเดิม 3. ส่งเสริมให้มีการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรและเกษตรแปรรูปคุณภาพสากลกับสร้างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ 4. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและภาคพาณิชยกรรมโดยใช้อัตลักษณ์และองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างและความโดดเด่น 5. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน รักวัฒนธรรมท่องถิ่นและถิ่นกำเนิดตามวิถีลำปางโดยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  21. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์สำหรับแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 6.ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 :ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 :ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • เป้าประสงค์ :เพื่อให้จังหวัดลำปางเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีความโดดเด่นและมีคุณภาพสากลและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • - ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • จำนวนแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐาน (เพิ่มขึ้น ๑0 แห่งต่อปี) • จำนวนเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนารูปแบบให้มีความสวยงามและตรงตามความต้องการตลาด (25-30 รูปแบบ) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการพัฒนา การผลิต และบริหารจัดการเพื่อให้การประกอบการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (ร้อยละ 5 ต่อปี) • ระดับความสำเร็จในการประชาสัมพันธ์และจัดหาตลาดผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกระจายสินค้า(ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ร้อยละของรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3-5ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………

  23. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งผลิตรวมถึงจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิก รวมถึงสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้มีคุณภาพมาตรฐาน 2. ส่งเสริมการพัฒนาและวิจัยรูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก รวมถึงสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้มีความสวยงามได้มาตรฐานและตรงตามความต้องตลาดโดยมีประสิทธิภาพด้านต้นทุนที่เหมาะสม 3. พัฒนาและเสริมสร้างบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะและศักยภาพในการออกแบบ การพัฒนา การผลิตและบริหารจัดการเพื่อให้การประกอบการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีขีดความสามารถในการแข่งขัน 4. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และการตลาดผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและจำหน่ายเป็นรายได้และชื่อเสียงที่โดดเด่นให้กับจังหวัดลำปาง 5. พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นเพื่อให้การผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและหัตถอุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 :ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปางให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพและยั่งยืน • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 :ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปางให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพและยั่งยืน • เป้าประสงค์ :เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ร้อยละของจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3,7,9 ต่อปีตามลำดับ จากปีฐาน พ.ศ.2557) • รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10 ต่อปี จากปีฐาน พ.ศ. 2557) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม/ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม/สิ่งอำนวยความสะดวก (3 แห่งต่อปี) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ได้รับการสร้างใหม่ เช่น แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นต้น (2 แห่งต่อปี) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่ผ่านการประเมินมาตรฐานการท่องเที่ยว (1 แห่งต่อปี) • จำนวนกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรการท่องเที่ยว (3 กิจกรรมต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………………

  25. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6  คงเดิม ปรับปรุงใหม่ 7. กลยุทธ์ที่ 7  คงเดิม ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. 1. เสริมสร้าง ฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและแหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ทั้งแหล่งท่องเที่ยวเดิมและแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมการจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบ (Responsible Travel) และไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (no or low impact) เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันและกำจัดมลพิษ และอยู่ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 3. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนท้องถิ่นเพื่อก่อให้เกิดการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวให้สามารถคืนผลประโยชน์สู่ท้องถิ่น 4. เสริมสร้าง พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรและสถานประกอบการภาคการท่องเที่ยวให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะด้านภาษา วัฒนธรรมข้ามชาติและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมตามวิถีลำปาง 5. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ การตลาด การสร้างสรรค์กิจกรรม และรูปแบบการท่องเที่ยว เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยว 6. สร้างเสริม ปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน (เช่นประปา ไฟฟ้า ความปลอดภัยและความมั่นคง) และสิ่งอำนวยความสะดวก (เช่นห้องน้ำ ป้ายและศูนย์ข้อมูล) เพื่อการบริการนักท่องเที่ยวอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการให้มีการสร้างสรรค์ ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดลำปาง

  26. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 :ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานแบบครบวงจร • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 :ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานแบบครบวงจร • เป้าประสงค์ :ทำให้จังหวัดลำปางเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์การเกษตรและเกษตรแปรรูปที่มีคุณภาพมาตรฐาน โดดเด่นของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือและของประเทศ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ร้อยละของเกษตรกรที่ได้รับการเตรียมความพร้อมในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้คุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มจำแนกตามประเภท (ได้แก่ พืช ปศุสัตว์และประมง) ที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP และ GMP เพิ่มขึ้น จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 5 ต่อปี) • จำนวนศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้น (3 แห่งต่อปี) • ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาผลผลิตทางการเกษตร (ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร (ร้อยละ 2.5-3 ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

  27. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… 1. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 2. พัฒนาและส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและบรรจุภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 3. สร้างและขยายเครือข่ายการตลาด ช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์เกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีการผลิตและสิ่งอำนายความสะดวกพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อให้การผลิตภาคเกษตรกรรมมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร 5. พัฒนาสถาบันเกษตรกรและเครือข่ายที่เข้มแข็งสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและอำนวยประโยชน์ให้กับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป

  28. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 :เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 :เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เป้าประสงค์ : ประชาชนอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขตามวิถีล้านนาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ค่าดัชนีครอบครัวมีความอบอุ่นมากขึ้น (ร้อยละ 1) • ร้อยละของความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 60) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ระดับความสำเร็จในการแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด (ระดับ 5 ในแต่ละปี) • จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน HA (ร้อยละ 2 ต่อปี) • ประชาชนพึงพอใจต่อการให้บริการของสถานบริการ (ร้อยละ 80 ต่อปี) • ร้อยละของการควบคุมคดีไม่น้อยกว่า 177 คดีต่อประชากร 100,000 คน

  29. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. พัฒนาระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีคุณภาพ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาของเด็ก เยาวชน และประชาชนในมีคุณภาพ (ความรู้คู่คุณธรรม) สามารถเข้าถึงแหล่งอาชีพที่เหมาะสมและมีสภาพแวดล้อมทางสังคมและสวัสดิการทางสังคมที่ดี 3. เสริมสร้างและยกระดับความเข้มแข็งและสร้างภูมิคุ้มกันของสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม รวมทั้งสนับสนุนให้ดำรงชีวิตตามวิถีลำปางตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้เกิดการรักท้องถิ่น การอนุรักษ์และเผยแพร่ประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ 5. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก (เช่นประปา ไฟฟ้า ความปลอดภัยและความมั่นคง) เพื่อการบริการประชาชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 6. เสริมสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคม

  30. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่5 :สร้างเสริมและพัฒนาจังหวัดลำปางให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่๕ :สร้างเสริมและพัฒนาจังหวัดลำปางให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • เป้าประสงค์ :เตรียมความพร้อมและการปรับตัวของบุคลากร ระบบสาธารณูปโภค สิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อรองรับโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • จำนวนบุคลากรภาครัฐที่ได้รับการฝึกอบรมด้านภาษาต่างประเทศ (ร้อยละ ๑๐ ต่อปี) • ร้อยละของการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้และการเพิ่มขีดความสามารถแก่ผู้ประกอบการ (ร้อยละ ๑๐ ต่อปี) • ร้อยละของความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการต่อระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน (ร้อยละ ๘๐ ต่อปี) • จำนวนเยาวชนในสถานศึกษาในจังหวัดลำปางที่ผ่านการอบรมเกี่ยวกับ AEC (ครบร้อยละ ๑๐๐ ใน พ.ศ. ๒๕๕๘) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

  31. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. พัฒนาบุคลากรทุกระดับและทุกภาคส่วนให้มีการตื่นตัว (Awareness) และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้ผู้ประกอบการของจังหวัดลำปางในการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ 2. ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานและทักษะด้านภาษาเพื่อเตรียมความพร้อมของแรงงานภายในจังหวัดเข้าสู่ตลาดแรงงานในภูมิภาคอาเซียน 3. ส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่นและการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศหลักและเรียนรู้ภาษาสากลอื่นหรือภาษาประเทศเพื่อนบ้านตลอดจนการเรียนรู้เข้าใจวัฒนธรรมข้ามชาติและวิถีชีวิตของคนในกลุ่มประเทศอาเซียน 4. ยกระดับการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว ทั้งพัฒนาบุคลากรและมาตรฐานการให้บริการเพื่อก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมของภูมิภาค 5. เสริมสร้างและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงอำนวยความสะดวกในการเดินทางการค้าและการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน 6. พัฒนาการท่องเที่ยว การค้าการลงทุน การผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานเพื่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงอำนวยความสะดวกในการเดินทางการค้าและการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน

  32. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่6 : ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่6 :ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน • เป้าประสงค์ :1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู เพื่อสร้างความสุมดุลระบบนิเวศ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเกษตร และการท่องเที่ยวของจังหวัด รวมถึงรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก • 2. เป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ความหลากหลายทางชีวภาพมีความยั่งยืนและมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ระดับ 3 ต่อปี) • ระดับความสำเร็จของการรักษาฐานทรัพยากรป่าไม้ไม่ให้มีการบุกรุกทำลาย (5.4 ล้านไร่) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารที่เสื่อมโทรมให้มีระบบนิเวศน์ที่ดี พร้อมตอบรับความต้องการการใช้ประโยชน์ของประชาชน (ร้อยละ 20 ต่อปี) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและมีแผนแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในเขตเมืองชนบท (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของความพึงพอใจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่น้อยกว่า (ร้อยละ 80 ต่อปี) • จำนวนวันที่มีมลพิษทางอากาศไม่เกินค่ามาตรฐาน (0 วัน) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคมที่มีส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 10 ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

  33. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5  คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6  คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สร้างเสริม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ส่งเสริมภาคีต่างๆ และองค์กรเครือข่ายภาคประชาสังคมในการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 4. เพิ่มขีดความสามารถให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. สนับสนุนและพัฒนาให้เกิดเครือข่ายรักษ์และเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัยโดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีและภาคประชาชนในท้องถิ่น 6. พัฒนาและส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ

  34. กระบวนการระดมความคิดเห็นสำหรับ Workshopครั้งที่ 1 • แบ่งกลุ่มๆละ 50-60 ท่าน • ให้เลือกตัวแทนแต่ละกลุ่มเป็นผู้นำการระดมความคิดเห็น โดยมีที่ปรึกษาและทีมงานคอยช่วยสนับสนุนทางวิชาการ • หยิบประเด็นที่กำหนดไว้และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมในกลุ่มได้อภิปรายอย่างกว้างขวางตามเวลาที่กำหนด (ทีมงานจะคอยเตือนเพื่อให้ได้เวลาตามที่กำหนดไว้) • ให้ทีมงานทำการจดรายละเอียดในแต่ละประเด็น • เมื่อหมดเวลา ให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มทำการสรุปผลการระดมความคิดเห็นของกลุ่มของตน กลุ่มละ 10 นาที

  35. ประเด็นสำหรับการระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 • หลังจากทบทวน วิสัยทัศน์(20 นาที) • ทบทวนพันธกิจ (20 นาที) • ทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ (20 นาที) โดยผู้เข้าร่วมจะไม่เน้นการอภิปรายเพิ่มเติม ในวาระนี้เพียงแค่ยืนยันหรือปรับเพิ่มเติม 4. ระดมความเห็นคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์ภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ( 2ชม30 นาที) • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 2 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 2 • แต่ละกลุ่มนำเสนอสรุปผลกลุ่มละ 8-12 นาที (40 นาที) กลุ่ม 1

  36. บทสรุป • ผลผลิตของการศึกษาครั้งนี้คือแผนยุทธศาสตร์จังหวัดลำปาง ด้วยกันกับแผนชุมชนของแต่ละอำเภอ เหมาะสมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและการเติบโตพื้นที่จังหวัดลำปาง • ออกแบบและพัฒนาแผนปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเพื่อให้การอยู่ร่วมกันของภาคีเป้าหมายสามารถอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน • กำหนดกรอบการวัดผลโดยใช้ปัจจัยแห่งความสำเร็จและดัชนีชี้วัดในแต่ละด้าน โดยนำเอาหลักการและแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นกรอบในการประเมินองค์กรด้วยตนเองและเป็นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กร • การศึกษาครั้งนี้จะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาคม โดยเฉพาะหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ

  37. การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558–2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2558 คำถาม???หรือข้อเสนอแนะ!!!! ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน

More Related