1 / 40

I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี

I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี. I-MS ระบบการบริหารสารสนเทศ. เปรียบเทียบระบบการบริหารสารสนเทศ กับ สมรรถนะการพัฒนาระบบอัตโนมัติ (ADP/VIRTUAL) แบบ CMM ขององค์กร เพราะการพัฒนาซอฟต์แวร์ SE เป็นหัวใจการจัดทำองค์กรให้มี สมรรถนะ ADP/VIRTUAL.

Télécharger la présentation

I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี

  2. I-MS ระบบการบริหารสารสนเทศ

  3. เปรียบเทียบระบบการบริหารสารสนเทศ กับ สมรรถนะการพัฒนาระบบอัตโนมัติ(ADP/VIRTUAL) แบบ CMM ขององค์กรเพราะการพัฒนาซอฟต์แวร์ SE เป็นหัวใจการจัดทำองค์กรให้มี สมรรถนะ ADP/VIRTUAL • CMM ย่อมาจาก Capability Maturity Modelเป็นต้นแบบของการวัดวุฒิภาวะความสามารถในการทำงาน ที่ทางสถาบัน Software Engineering Institute (SEI) แห่งมหาวิทยาลัย คาร์เนกี เมลลอน ในสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาขึ้น ให้แก่กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา • หลักการของ CMM ก็คือ ความสำเร็จในการทำงานใดๆ ในอนาคตขององค์กรหรือหน่วยงาน ขึ้นอยู่กับระดับวุฒิภาวะความสามารถ ในการทำงานขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น ในทำนองเดียวกัน วุฒิภาวะความสามารถขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น ก็ขึ้นอยู่กับผลการทำงานในอดีตขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น • SEI CMM-I ห้าระดับ • ระดับแรก (Initial level) Know-WHY/Tacit KM / Implicitคือ การทำงานแบบไม่เป็นระบบ การทำงานต้องพึ่งผู้ที่มีประสบการณ์มีภูมิปัญญา เป็นหลัก • ระดับที่สอง (Repeatable level) Know-HOW/ Explicit คือการทำงานเป็นระบบ มีการนำหลักการจัดการโครงการมาใช้ในการบริหารงานของแต่ละโครงการ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ • ระดับที่สาม (Defined Level)คือหน่วยงานได้จัดทำมาตรฐานการทำงานของหน่วยงานขึ้น โดยการพิจารณาปรับปรุงจากการดำเนินงานในระดับที่สอง ในระดับนี้การทำงานจะมีมาตรฐาน สามารถวัดและจัดเก็บสถิติผลการดำเนินงานเอาไว้ได้ • ระดับที่สี่ (Managed Level)คือการนำเอาสถิติการดำเนินงานที่จัดเก็บไว้มาวิเคราะห์ เพื่อหาจุดบกพร่อง และแก้ไขไม่ให้มีข้อบกพร่องได้ • ระดับที่ห้า (Optimizing level)คือระดับวุฒิภาวะสูงสุด หน่วยงานดำเนินการปรับปรุง กระบวนการทำงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการจัดกระบวนการทำงานใหม่ ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น และมีการป้องกันไม่ให้ข้อบกพร่องเกิดขึ้น • ควรเพิ่ม CMMI • องค์กรที่จะเป็น BPOเข้ารับประมูลงานซอฟต์แวร์ได้ จะต้องมีวุฒิภาวะความสามารถ CMM ระดับที่ 3 เป็นอย่างน้อย

  4. เงื่อนไข ของ CMM ขององค์กร • ได้รับการกำหนดขึ้นอย่างชัดเจน (Defined) • ได้เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (Documented) • ได้นำไปจัดฝึกอบรมให้ใช้กันทั้งหน่วยงาน (Trained) • ได้นำไปปฏิบัติจริง (Practices) • ได้รับการสนับสนุน (Supported) • ได้รับการบำรุงรักษา (Maintained) • ได้รับการควบคุม (Controlled) • ได้รับการตรวจสอบ (Verified) • ได้รับการสอบยันว่าใช้การได้ (Validated) • มีการวัดผล (Measured) และสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ • หัวใจของ CMM ระดับ 2 อยู่ที่ไหน • CMM ระดับ 2 มี KPA ที่จะต้องทำให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ CMM อยู่ด้วยกัน 6 เรื่อง คือ • Requirements Management • Software Project Planning • Software Project Tracking and Control • Software Subcontract Management • Software Quality Assurance การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ยากที่สุด • Software Configuration Management

  5. Table 1: Six stages of data processing growth Table 1: Six stages of data processing growth Table 1: Six stages of data processing growth

  6. ระบบการบริหารสารสนเทศหรือ การบริหารเชิงระบบข้อมูล (I-MS) ที่ดี • การกระจายอำนาจศูนย์การจัดการ(กระจาย Decentralization/เกลี่ยDistributed) ตามใจฉัน(Operational management consolidation) • Procedure: การใช้สารสนเทศให้บริการเฉพาะงานที่รับผิดชอบได้ เป็นงานหลักชัดเจน(Core focused) • สามารถเลือกการจัดการทางเลือกได้หลายทางด้วยตนเอง • สร้างความรับผิดชอบ และบทบาทหน้าที่ของตัวเองได้มาก(Accountability & Responsibility) • มีความอิสระในการกำหนดระเบียบตัวเอง • PW: ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะองค์กรมี ทั่วไปทุกหน่วยงานสังกัด และการภูมิฟักผู้ชำนาญการ/เลี้ยงต้อยได้มาก (Foster) • การรวมศูนย์อำนาจการจัดการ(Centralization) อยู่ในกฏกติกา(systems development & management) • PW: สามารถมีผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาสารสนเทศ และสำรองระบบการจัดการผลสำเร็จได้มาก • Cost: การขยายจุดคุ้มทุนเชิงปริมาณได้มาก (Economic of scale) • Procedure: การวางแผนระยะยาว ต่อเนื่องมีมาก กำหนดมาตรฐานลดความซ้ำซ้อน ได้ง่าย และมีอิสระ • HW/SW/Network: การจัดการบูรณาการควบคุมและรวมศูนย์การทำงานด้านเทคนิคได้ดีมาก

  7. I-MS ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี

  8. Competitive Intelligence

  9. I-MS ระบบบริหารสารสนเทศ หรือการบริหารเชิงระบบข้อมูล (Information Systems Management) • 1974 Nolan and1979 Gibson อธิบายระบบสารสนเทศมีวิวัฒนาการโดยระบบสารสนเทศขององค์กร (Organization as Information Processor) มีการพัฒนาการ 6 ขั้นตอน:- • 1950 Stage 1 Initiation คอมพิวเตอร์เกิดขึ้น EDPS และ Programmers เกิด • Stage 2 Contagion • Stage 3 Control • Stage 4 Integration • Stage 5 Data Administration • Stage 6 Maturity

  10. กลับที่เดิม

More Related