1 / 85

บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ

บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ. เนื้อหาบทเรียน. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านภาครัฐ. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านภาคพาณิชย์. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านอุตสาหกรรม. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านการศึกษา. เนื้อหาบทเรียน. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านสังคม. การประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างฉลาด.

dusty
Télécharger la présentation

บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ

  2. เนื้อหาบทเรียน การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านภาครัฐ การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านภาคพาณิชย์ การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านอุตสาหกรรม การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านการศึกษา

  3. เนื้อหาบทเรียน การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านสังคม การประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างฉลาด

  4. นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2553 (e-Thailand) ด้านภาครัฐ พัฒนาประสิทธิภาพภายในองค์กร (Back office) พัฒนาระบบบริการประชาชน (Front office) ปรับปรุงระบบบริหารราชการเพื่อนำไปสู่ Good Government จัดทำแผนแม่บท จัดให้มีหน่วยงานติดตามและสนับสนุน ปรับปรุงระบบงานและการจัดระบบข้อมูลทั้งในส่วนกลางและองค์กรท้องถิ่น พัฒนาข้าราชการให้มีทักษะ ปรับกฎหมายและกฎระเบียบให้เอื้ออำนวย จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศและส่งเสริมอุตสาหกรรมสารสนเทศของไทย สร้างความตระหนักและความเชื่อมั่นของประชาชน

  5. ด้านพาณิชย์ (e-Commerce) • ส่งเสริมการส่งออก ส่งเสริมการค้าบริการ ส่งเสริมการบริโภคจากผู้ประกอบการภายในประเทศ กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการชำระเงินผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภัย สร้างความตระหนักและความเข้าใจ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม สร้างตลาดให้ภาคเอกชนผ่าน e-Procurement ของภาครัฐ พัฒนาบุคลากร จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสมและส่งเสริมอุสาหกรรมไอทีของไทย

  6. ด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) ยกระดับประสิทธิภาพในการผลิตโดยใช้ไอที ขยายฐานการตลาดโดยใช้ไอที ใช้ไอทีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางด้านการเกษตร เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีที่มีศักยภาพ จัดให้มี Thailand Exchange ส่งเสริมการใช้ไอทีในภาคการผลิต จัดให้มีข้อมูลทางด้านการตลาด ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในภาคการผลิตให้มีและแลกเปลี่ยนความรู้ ส่งเสริมอุตสาหกรรมไอทีเพื่อสดการนำเข้าและเพื่อการส่งออก ส่งเสริมการใช้ไอทีในภาคการเกษตร

  7. ด้านการศึกษา (e-Education) สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว (Value-added) ลดความเหลื่อมล้ำโดยลงทุนอย่างเหมาะสม (Equity) วางแผนก้าวกระโดดในระยะยาว (Quantum-jump) ยกระดับครูให้มีทักษะด้านไอที (Teacher’s Training) เร่งผลิตฐานความรู้ (Content Development) สร้างเครือข่ายการศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี (Networking) สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อยกระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศและส่งเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย

  8. ด้านสังคม (e-Society) ลดความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) เพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน (Quality of Life) ส่งเสริมการเรียนรู้ (Learning Society) สร้างโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ ส่งเสริมชุมชนและองค์กรแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาทักษะของประชาชนในการเข้าถึงและใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้ไอทีเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อวัฒนธรรมและความเอื้ออาทรในสังคม ส่งเสริมการจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสมและสนับสนุนอุตสาหกรรมไอทีของไทย

  9. การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านภาครัฐ (e-Government) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานภาครัฐ ปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน การบริการด้านข้อมูลและสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และทำให้ประชาชนมีความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น

  10. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยหลักการที่เป็นแนวทาง 4 ประการ ได้แก่ - สร้างบริการตามความต้องการของประชาชน - ทำให้รัฐและการบริการของรัฐเข้าถึงได้มากขึ้น - เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยทั่วกัน - มีการใช้สารสนเทศที่ดีกว่าเดิม

  11. แนวทางของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แนวทางของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ นำหลักการ e-Service มาใช้ประโยชน์กับการบริการต่างๆ ของภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนาระบบสารสนเทศให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูงผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ความปลอดภัย และทำให้องค์กรสามารถแลกเปลี่ยนสารสนเทศกันได้ การพัฒนาทักษะและ องค์ความรู้ตลอดจนการพัฒนาระบบการบริการผ่านเครือข่ายสารสนเทศที่เชื่อมโยงการบริการระหว่างองค์กร บริการเบ็ดเสร็จ (one-stop service) เพื่อประโยชน์สูงสุดในการเข้าถึงข้อมูลและบริการของรัฐ

  12. หลักสำคัญของการสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์หลักสำคัญของการสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ - ที่เดียว - ทันใด - ทั่วไทย - ทุกเวลา - ทั่วถึงและเท่าเทียม - โปร่งใสและเป็นธรรมาภิบาล

  13. การแบ่งกลุ่มตามผู้รับบริการของการแบ่งกลุ่มตามผู้รับบริการของ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 1). รัฐกับประชาชน (Government to Citizen : G2C) 2). รัฐกับเอกชน (Business to Business : G2B) 3). รัฐกับรัฐ (Government to Government : G2G) 4).รัฐกับข้าราชการและพนักงานของรัฐ (Government to Employee : G2E)

  14. ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) - ลดขั้นตอน ลดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ - ลดต้นทุนการดำเนินงานและการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ - ลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการของรัฐ - มีความโปร่งใสในการดำเนินงานและให้บริการ - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ - ช่วยยกระดับความรู้และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก - เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  15. เว็บไซต์ที่ตั้งขึ้นเป็นเว็บท่าเพื่อให้บริการภาครัฐเว็บไซต์ที่ตั้งขึ้นเป็นเว็บท่าเพื่อให้บริการภาครัฐ 1). บริการผ่าน www.ecitizen.go.th

  16. เว็บท่า www.ecitizen.go.th ศูนย์กลางบริการภาครัฐนี้ให้บริการในด้านต่างๆ ได้แก่ บริการประชาชน บริการธุรกิจ Thais Abroad บริการภาครัฐ โดยให้บริการเกี่ยวกับ ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ สวัสดิการภาครัฐ ภาษี สาธารณูปโภค การศึกษา การจ้างงาน ครอบครัวและชุมชน สุขภาพ ที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยและกฎหมาย การคมนาคมขนส่ง ข้อมูลนักท่องเที่ยว/การท่องเที่ยว การพักผ่อน ความบันเทิง วงจรชีวิตในแต่ละช่วงวัย แบ่งเป็นวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน วัยเกษียณ บริการ Link รายชื่อหน่วยงานภาครัฐเรียงตามตัวอักษร ข่าวสารจากกระทรวง บริการงานออนไลน์จากหน่วยงานภาครัฐ

  17. ecitizen เว็บไซต์ที่จัดตั้งเป็นเว็บท่าของบริการภาครัฐ

  18. 2). บริการผ่าน www.thaigov.net เว็บท่า www.thaigov.net หรือไทยก็อฟด็อทเน็ตนี้ให้บริการภาครัฐโดยแบ่งเป็นสารบัญบริการภาครัฐออนไลน์ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลภาครัฐ ด้านการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ ด้านไปรษณีย์และคลื่นวิทยุ ด้านแรงงานและประกันสังคม ด้านอาหารและยา ด้านกฎหมาย ด้านสถิติ บริการเกี่ยวกับไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ภาษี และการเดินทาง บริการเกี่ยวกับงานทะเบียน บริการเกี่ยวกับการซื้อขาย จัดซื้อจัดจ้าง ธุรกรรมการลงทุนและตลาดหลักทรัพย์ บริการร้องเรียน/ร้องทุกข์ บริการสำหรับเว็บไซต์และผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในส่วนของสารบัญบริการภาครัฐให้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล นิติบุคคล ที่อยู่อาศัย และที่ดิน ธุรกิจ การค้า การพาณิชย์ สุขภาพ รถยนต์ ทางหลวง การศึกษา การต่างประเทศและการเดินทาง อาชีพ การสื่อสาร บริการในช่วงชีวิตซึ่งให้บริการข้อมูลแนะนำในช่วงชีวิต

  19. ไทยก็อฟด็อทเน็ตเว็บไซต์ที่จัดตั้งเป็นเว็บท่าของบริการภาครัฐไทยก็อฟด็อทเน็ตเว็บไซต์ที่จัดตั้งเป็นเว็บท่าของบริการภาครัฐ

  20. 3). บริการผ่าน www.khonthai.com เว็บท่า www.khonthai.com หรือคนไทยดอทคอมนี้ให้บริการงานด้านต่างๆ ได้แก่ การบริการภาครัฐ Khonthai Certificate อินเทอร์เน็ตตำบล การบริการภาครัฐ (MOU) ข่าวประชาสัมพันธ์ ศูนย์รับร้องเรียน (Call Center) งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แจ้งเบาะแส เหตุด่วนเหตุร้าย 3 จังหวัดภาคใต้ ค้นหา Link งานทะเบียนราษฎร/ประชากร การต่างประเทศ สาธารณูปโภค สุขภาพ อาชีพ อุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่ง/การสื่อสาร การศึกษา การพาณิชย์ สวัสดิภาพ การเกษตร กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ บริการหน่วยงานภาครัฐ บริการ Pin Code ผ่านหน่วยงานที่ได้รับอนุญาต เอกสารเผยแพร่ต่างๆ แรงงานต่างด้าว ทะเบียนค้าของเก่า และ Smart Card

  21. คนไทยดอทคอมเว็บไซต์ที่จัดตั้งเป็นเว็บท่าของบริการภาครัฐคนไทยดอทคอมเว็บไซต์ที่จัดตั้งเป็นเว็บท่าของบริการภาครัฐ

  22. การพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) E-Commerce หมายถึง การทำการค้าผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นการดำเนินธุรกิจที่สามารถทำได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มีข้อจำกัดทางด้านที่ตั้งของสถานประกอบการ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในทุกพื้นที่ที่ระบบเครือข่ายเข้าถึง

  23. ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

  24. วิธีการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มี 2 ลักษณะ1). การฝากสินค้าขายของบน Shopping Mall 2). การสร้างเว็บไซต์ของตัวเอง

  25. รูปแบบการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 1). ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B2B) 2). ธุรกิจกับผู้บริโภค (Business to Consumer : B2C) 3). ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B2G) 4). ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (Consumer to Consumer : C2C)

  26. หน่วยงานภาครัฐที่ดูแลด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หน่วยงานภาครัฐที่ดูแลด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1). ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Resource Center : ECRC) หรือ www.ecommerce.or.thจัดตั้งขึ้นภายใต้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ของประเทศไทยมีความก้าวหน้าและสามารถแข่งขันในระดับสากลได้

  27. เว็บไซต์ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เว็บไซต์ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

  28. 2). สำนักงานบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Technology Services : GITS) หรือ www.gits.net.th เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อยกระดับ e-Government ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) อย่างมีคุณภาพและครบวงจร ยกระดับเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Network : GINet) ไปสู่ Government (Secure) VPN (G-VPN) เพื่อตอบสนองการบริหารงานสำหรับหน่วยงานภาครัฐได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง ปฏิบัติหน้าที่เป็น National Root CA ที่ได้รับความเชื่อมั่นสูง และมีมาตรฐานระดับสากล สนับสนุนให้เกิดระบบการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐและประชาชนผ่าน Government Gateway (e-Services)

  29. ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) - ทำงานแทนพนักงานขาย โดยสามารถทำการค้าแบบอัตโนมัติ ได้อย่างรวดเร็ว - เปิดให้บริการ 24 ชั่วโมง และให้บริการได้ทั่วโลก - มีช่องทางการจัดจำหน่ายมากขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ - เก็บเงิน และนำฝากเข้าบัญชีได้โดยอัตโนมัติ - ประหยัดเวลาและขั้นตอนทางการตลาด - สามารถทำกำไรได้มากกว่าระบบการขายแบบเดิม เนื่องจากต้นทุนการผลิตและ การจำหน่ายต่ำกว่า ทำให้ได้กำไรจากการขายต่อหน่วยเพิ่มขึ้น - สามารถนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าได้เป็นจำนวนมาก และสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ในลักษณะ Interactive Market

  30. 8.3 การประยุกต์ใช้สารสนเทศด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศภาคอุตสาหกรรม (e-Industry) หมายถึงการสร้างความเข้มแข็งของภาคอุตสาหกรรมการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่สำคัญ เพื่อเป้าหมายสำคัญในการสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม โดยจะนำมาซึ่งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในอนาคตต่อไปสถานภาพของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยประกอบด้วย การใช้เทคโนโลยีในสำนักงาน (Back office) การใช้เทคโนโลยีในกระบวนการผลิต (Production process) การใช้เทคโนโลยีในขั้นตอนการขนส่งและการตลาด (Logistic and marketing)

  31. ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) - สร้างเสริมภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้ใช้ความรู้เป็นฐานทางการผลิต - ส่งเสริมให้เกิดการใช้ข้อมูลด้านอุตสาหกรรมและการตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเป็นแนวทางในการตัดสินใจผลิตสินค้าอุตสาหกรรม - ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงทางการผลิตระหว่างผู้ประกอบการรายใหญ่และรายย่อยทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - ลดช่องว่างในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ประกอบการไทย - ส่งเสริมให้ธุรกิจของผู้ประกอบการพร้อมให้บริการแก่ลูกค้าในช่องทางต่างๆ ที่มากขึ้น - ช่วยในการประหยัดเวลาในการดำเนินธุรกิจ - เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของผู้ประกอบการ

  32. คือ การให้บริการจัดการด้านสุขภาพ หรือการรักษาผู้ป่วยผ่านทางระบบเครือข่ายการสื่อสาร ซึ่งผู้รับบริการและผู้ให้บริการอยู่ต่างพื้นที่กันโดยทำการติดตั้งอุปกรณ์สื่อสาร เช่น กล้องดิจิตอล เป็นต้น ระบบการแพทย์ออนไลน์(Telemedicine)

  33. ระบบการแพทย์ออนไลน์ (Telemedicine)

  34. การปรึกษาและรักษาผู้ป่วยทางอินเตอร์เน็ตการปรึกษาและรักษาผู้ป่วยทางอินเตอร์เน็ต

  35. คือ ระบบการสืบค้นข้อมูลในห้องสมุดผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ที่ผู้ใช้สามารถเรียกดูหนังสือทีละหน้าและสามารถสั่งพิมพ์ได้จากคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจมีการเรียกเก็บค่าใช้บริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library)

  36. คือ การใช้คอมพิวเตอร์จำลองภาพสภาวะแวดล้อมในระบบสามมิติ ให้ผู้ใช้สามารถทดลองใช้ระบบต่างๆ ได้เหมือนอยู่ในเหตุการณ์จำลอง ซึ่งนำมาใช้ทดสอบกับงานที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ระบบการบิน งานด้านการฝึกหัดแพทย์ เป็นต้น ภาวะเสมือนจริง (Virtual Reality)

  37. เป็นศาสตร์ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่เน้นการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถ คิด คำนวณ ปฏิบัติการ และแสดงการกระทำต่างๆ ได้เหมือนมนุษย์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Reality)

  38. ประกอบด้วย 4 สาขา ดังนี้ 1. ศาสตร์ด้านหุ่นยนตร์ 2. ภาษาธรรมชาติ 3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ 4. ความสามารถในการจำลองประสาทสัมผัสของมนุษย์

  39. Roboraptor

  40. ทรูตั้งโต๊ะโชว์หุ่นยนต์โรโบแรปเตอร์ (Roboraptor)ขนาด 32 นิ้ว สามารถเคลื่อนไหวอิริยาบถต่างๆได้โดยอิสระ สามารถหยอกล้อหรือออดอ้อนไม่ต่างจากสัตว์เลี้ยง มีเซ็นเซอร์คอยตรวจจับความเคลื่อนไหวเพื่อตอบสนองต่อมนุษย์ ใช้พลังงานจากถ่านขนาด AA จำนวน 6 ก้อน

  41. โรโบแร็พเตอร์

  42. โรโบแร็พเตอร์ถูกออกแบบให้มีลักษณะและการเคลื่อนไหวที่เป็นธรรมชาติมากที่สุด ทั้งการเคลื่อนไหวของส่วนหัวและหางที่มีเซ็นเซอร์แบบสัมผัส ไม่ว่าจะเป็นคาง หางและลิ้น เซ็นเซอร์รับเสียง เซ็นเซอร์สำหรับการมองเห็น และเมื่อมีสิ่งเร้ากระตุ้นจะทำให้เกิดปฏิกิริยาตอบกลับโดยอัตโนมัติ เช่น มีเสียงดังเกิดขึ้นโรโบแร็พเตอร์จะมีการเคลื่อนไหวและหันไปตามต้นกำเนิดเสียง

  43. AIBO สุดยอดสัตว์อิเล็กทรอนิกส์

  44. หุ่นยนต์ Aibo ERS-210 จะไม่วิ่งไปต้อนรับคุณ เวลาคุณกลับบ้าน เหมือนสุนัข แต่ก็สามารถ ทำตามคำสั่ง ของคุณได้หลายอย่าง และจะขอให้คุณ ตั้งชื่อให้ แถมยังมี กล้องดิจิตอล ที่ปลายจมูก สำหรับจับภาพต่างๆ ด้วย แต่หุ่นยนต์สัตว์เลี้ยง รุ่น Aibo ERS-210 ก็จะให้ความเพลิดเพลิน แก่คุณ ในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่สัตว์เลี้ยงจริง ๆ ทำไม่ได้

  45. "คอนโด" หุ่นยนต์ช่างแดนซ์

  46. "คอนโด" หุ่นยนต์ตัวจิ๋วได้แสดงลีลาท่าทางแดนซ์กระจายต่อหน้าสาธารณชน ความน่ารักของคอนโดอยู่ตรงที่สามารถเคลื่อนไหวได้เหมือนมนุษย์ นอกจากนี้ยังสามารถเตะฟุตบอลได้ และร้องเพลงได้อีกด้วย ทั้งนี้คอนโดเป็นหุ่นยนต์ที่ควบคุมให้เคลื่อนไหวโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และสามารถเปลี่ยนแปลงท่าทางได้ตามคำสั่งของผู้ควบคุม 

  47. หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์

  48. หุ่นยนต์ที่มีความสามารถในการเล่นทรัมเป็ตและยังสามารถโค้งคำนับให้กับผู้ชม และโบกมือตอบรับเสียงปรบมือได้อีกด้วยริมฝีปากของหุ่นฯ เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า "artificial lips" หรือริมฝีปากอัจฉริยะ สามารถขยับได้เหมือนมนุษย์ บังคับลมให้ผ่านออกมาและทำให้ทรัมเป็ตเกิดเสียงดังได้ ที่สำคัญคือไม่ใช่แค่เกิดเสียงเท่านั้น แต่หมายถึงดนตรีในระดับที่เป็นธรรมชาติจนผู้ฟังสามารถรู้สึกได้เลยทีเดียว

  49. หุ่นยนต์ทาร์ซานสำรวจป่าหุ่นยนต์ทาร์ซานสำรวจป่า

  50. ทาร์ซานไฮเทค หุ่นยนต์ที่นักวิทยาศาสตร์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาเพื่อทำการสำรวจพื้นที่ป่า โดยไม่ต้องให้มนุษย์เข้าไปเสี่ยง เนื่องจากเกรงอันตรายจากสัตว์สารพัดชนิด โดยหุ่นยนต์ทาร์ซานหรือมีชื่อเรียกกันว่า "Treebot" ตัวนี้ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการขับเคลื่อน อีกทั้งยังติดตั้งกล้องเวบแคม และเซนเซอร์ต่าง ๆ รวมถึงระบบเครือข่ายแบบไร้สายเอาไว้ด้วย

More Related