1 / 15

Service Plan 10 สาขา

Service Plan 10 สาขา. สมุทรสาคร 23 มกราคม 2556. วิธีเขียนโครงการของ service plan 10 สาขา. ควรเขียนโครงการ เน้นสิ่งที่อยากพัฒนาให้เกิดขึ้น กำหนดเป้าหมายของผลลัพธ์สุดท้าย ไม่ใช่ process ( to achieve target)

edie
Télécharger la présentation

Service Plan 10 สาขา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Service Plan 10 สาขา สมุทรสาคร 23 มกราคม 2556

  2. วิธีเขียนโครงการของ service plan 10 สาขา • ควรเขียนโครงการ เน้นสิ่งที่อยากพัฒนาให้เกิดขึ้น กำหนดเป้าหมายของผลลัพธ์สุดท้าย ไม่ใช่ process (to achieve target) • อย่าผูกกับเรื่องเงินที่จะขอ ไม่งั้นจะเป็นการจัดประชุม อบรมหมดควรเป็นโครงการพัฒนา (development project) มุ่งหา target โดยตรง • แผนควรพูดถึงรูปธรรม:how to get there อย่างเป็นขั้นตอน เฉพาะเจาะจงไม่ควรเขียนโครงการแบบเป็นนามธรรม ซึ่งจะไม่สำเร็จ

  3. 1. ศูนย์หัวใจ • ให้ทบทวนว่าจะ focus / hi-light ที่ปัญหาตรงไหน อย่าเน้นประชุมอย่างเดียวเช่นถ้า focus ที่รพ.ชช.เน้น early diagnosis, ที่ รพท.เน้น fast track, diagnosis ให้ถูกต้อง หรืออย่างน้อยให้ Thrombolytic agent ได้ แล้วมีเส้นทางเข้าสู่กระบวนการ Reperfusion (PCI) ที่ชัดเจน

  4. 2. Trauma • ตีวงให้แคบลงมา นำข้อมูลมาดู อาจไม่ใช่ฐานข้อมูลจาก trauma registry อย่างเดียว โดยให้เน้นที่การรักษามากขึ้น • ควรวิเคราะห์จากปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น การ trace ตามกลุ่มผป.trauma, neurosurgery ที่ต้องผ่าตัดในช่วงเวลาหนึ่ง(เช่น ช่วง 7 วันอันตราย) เพื่อหาว่าปัญหาในระบบการให้บริการผู้ป่วยมีจุดอ่อนตรงจุดไหนบ้างที่ต้องปรับปรุง การกระจายทรัพยากรเหมาะสม เพียงพอหรือไม่ ควรใช้ระบบการshare ทรัพยากรอย่างไร , ปัญหา ICU มีอะไรบ้างจะบอกได้ว่าควรเพิ่ม ICU หรือบริหารให้มีประสิทธิภาพอย่างไร

  5. 3. ไต ตา • ระยะแรก ผป. NCD มักเกิด CKD:หัวใจการแก้ไข อยู่ที่ การ screening ให้ผู้รับบริการเข้าสู่ระบบมากขึ้น • ผป.DM + HT ได้รับการวินิจฉัย CKD แต่ก็ยังเกิด ไตวาย :หัวใจอยู่ที่ การป้องกันไม่ให้เกิด + staging การเตรียมผป.สู่กระบวนการ hemodialysis, CAPD ไม่ควรเป็น unplanned • ในรพ.ชช.ที่ไม่มีอายุรแพทย์ อาจเน้นการอบรม แต่รพ.ที่มี CKD clinic เน้นการพัฒนาระบบ • ตา โครงการ diagแล้วส่งมา ควรมีการคำนวนว่าจักษุแพทย์ในเครือข่ายมี/ปี ? ควรรับ screening ได้? แล้วผ่าตัดกี่ %

  6. 4. ทารกแรกเกิด • NB immature with LBW ควรจับประเด็น ลดอัตราตายทารก และการคัดกรอง ROP, OAE ซึ่งเกิดเมื่อมีทารก และอยู่ในมือ specialist จำเป็นต้องทำ และจะทำเมื่อไร • BA เป็นเรื่องของความพร้อม Labor room ในการ detect, ลดเวลาของ fetal distress ซึ่งเป็นใน รพ.ชช. ควรให้ สสจ.เป็นผู้ดูแล • IVH ต้องใช้รังสีแพทย์ ซึ่งมีงานมากอยู่ รอพัฒนาในระยะต่อไป

  7. 5. NCD จากประเด็นปัญหา ให้เลือกเป้าหมายหลักมาที่จะทำก่อน ที่น่าสนใจ เช่น • CUP/Disease management ที่ผ่านมา ปัญหาคืออะไร เพื่อนำมาแก้ให้ตรงจุดเช่นถ้าขาด protocol ก็แก้ที่ทำ และ implement Protocol รวม รพ.สต.ด้วย (ต้องดูชุมชน community intervention ไปด้วย) ไม่ใช่อบรมอย่างเดียว • NCD clinic คุณภาพให้ดูว่ากลุ่ม เริ่มต้นรักษา กลุ่ม uncontrolled กลุ่ม stable จะมีการ classify, มีprotocol อย่างไรให้ ผป.อยู่ในระยะที่พอดีไม่ยากจนปฏิบัติไม่ได้ ไม่ง่ายเกินไปจนควบคุมโรคไม่ได้ • เน้นการดูแลใน clinic ส่วนการคัดกรองให้ PP กลุ่มวัยทำ

  8. 6. ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม • แผนควรพูดถึงรูปธรรม:how to get there (อย่างเป็นขั้นตอน เฉพาะเจาะจง) ไม่ควรเขียนโครงการแบบเป็นนามธรรม ซึ่งจะไม่สำเร็จ • DHS เป็น ความคิด/concept ตัวแผนควรเป็นแผนพัฒนาสุขภาพของอำเภอที่สะท้อนภาพการทำงานของงานอำเภอ/ท้องถิ่นที่ชัดเจน • การลดความแออัด คือเป้าหมายจะทำได้คือ shift ผป.ที่ไม่จำเป็นต้องมารพ.ให้ออกจาก รพ. เช่น ผป. DM กลุ่ม 1,2 เริ่มแรก/กลับจากรพ.ไม่ควรมารพ. ผป.ที่เริ่มมีโรคแทรก(กลุ่ม 3) ถึงควรมารพ.

  9. 7. ทันตกรรม • เรื่องใดที่เคยทำโครงการดำเนินการมาแล้วแต่ไม่สำเร็จ ควรหันไปทำอย่างอื่น พื้นที่ใดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย ควรวิเคราะห์ว่าประเด็นใดที่ต้องทำ (เช่นการ monitor) • ความสำเร็จอยู่ที่การนำบริการที่จำเป็นนี้เข้าสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างไรเน้นดูเป้าหมาย และคำนึงถึง บุคลากร อุปกรณ์ การ share ทรัพยากร(ทันตบุคลากร)ข้ามอำเภอ/จังหวัด • ไม่ควรใช้อสม.มาทำงานแทนงานที่บุคลากรสาธารณสุข(ทันตบุคลากร)ต้องทำเอง อาจให้ช่วยในการกระตุ้น หา case (แต่ไม่ใช่ให้ fluoride, การตรวจฟัน) • มะเร็งช่องปาก ปัญหาอยู่ที่การเข้าถึงบริการ (การค้นหา case ยังน้อยเกินไป) หรือ missed diagnosis ในการ screening ในการนำผป.เข้าสู่การรักษา

  10. 8. มะเร็ง Chemotherapy ควรกระจายให้ได้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ ตั้งเป้าไว้ว่าจะให้ได้กี่แห่ง • ในแต่ละแห่ง setting แบบใดบ้าง ใน tumor unit จะมีกี่เตียงพยาบาลที่ดูแลผป. (อาจเป็นพยาบาล oncoหรืออบรม) • รพ.ที่มีอยู่แล้วจะพัฒนาอย่างไร รพ.ที่ยังไม่มีจะทำอย่างไรบ้าง ต้องมีการสนับสนุนทรัพยากรอะไร (ให้เหมาะสมกับบริบทในเขต) • รพท.ที่ต้องรองรับผป.จะมีแนวทางปฏิบัติอย่างไร

  11. 9. จิตเวช • การจัดทำบัญชียาจิตเวช เป้าหมายชัดเจนแล้ว • Gap ในระบบ คือ การดูแลผป.ในรพ.ขนาดเล็ก: ปัญหาของผป.ถูกทอดทิ้ง ขาดผู้ดูแลรับผิดชอบ โดยเฉพาะใน รพ.ชช. และ ศักยภาพ รพ.ชช.ในการดูแลผป.จิตเวช • การจัดบทบาทหน้าที่บุคลากรในระบบ: ผู้ดูแลรับผิดชอบ อาจเป็นพยาบาลจิตเวชและ system manager ระดับอำเภอในการดูแลครอบคลุม ผป.จิตเวชทั้งชุมชน • การ screen ผป.จิตเวช: เพื่อให้ทราบว่าเมื่อไรควรนำผป.เข้าระบบ เมื่อไรจะต้องส่งต่อแนวทางคู่มือการดูแลผป.แต่ละประเภท แนวทางในการส่งต่อ • การเข้าหากลุ่มเด็ก เพื่อ screen EQ เช่น พฤติกรรมเริ่มก้าวร้าว มีพฤติกรรมเสี่ยงจะใช้ยาเสพติด

  12. 10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก ศัลยกรรม: • หลักการว่าที่ไหนควรทำแค่ไหนก็ทำให้เต็มประสิทธิภาพ ในระยะที่บางรพ.ที่ควรทำบริการใดได้ แต่ยังขาดความพร้อม ระบบพบส.การช่วยเหลือจากรพ.ที่พร้อม ช่วย support ให้ในช่วงแรก เพื่อความยั่งยืนมากกว่าวิธีการหมุนเวียนspecialist ออกไปเรื่อยๆ • รพ.ไหนที่ทรัพยากรพร้อมแล้วแต่ไม่ทำก็ต้องมีการpush ให้ทำ • แต่รพ.ที่ไหนไม่ควรทำ ก็ไม่ควรทำ

  13. 10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก • อายุรกรรม: กำหนดจุดที่ควรมี stroke fast track ให้ชัดเจนในแผน และ สิ่งสนับสนุนในพื้นที่ (เช่น CT) ทรัพยากร เช่นแพทย์ อายุรกรรม/cardio med/neurosurgeon กำหนดว่าควรทำได้แค่ไหน ให้ยา ผ่าตัด

  14. 10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก • กุมารเวชกรรม: ควรปรับเกณฑ์มาตรฐานการดูแลตามบริบทของรพ.แต่ละระดับ เช่นในรพ.ที่มีกุมารแพทย์คนเดียว และต้องใช้แพทย์ด้านอื่นช่วยดูแลผป.เด็กนอกเวลาด้วย การให้มี respirator หลายเครื่องอาจเป็นภาระ

  15. 10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก Ortho: แบ่งกลุ่มผป. เพื่อให้ target ที่จะพัฒนาแคบลง • กลุ่มที่ต้องทำ screening for Prevention ในระยะนี้ กลุ่มนี้จะ consume ทรัพยากรมาก ควรเริ่มต้นที่กลุ่มอื่นก่อน • กลุ่มที่มี late pathology ต้องให้การรักษา • ควรเน้น กลุ่มที่ต้องทำ rehab หลังการผ่าตัด และ การลดผป.ติดเตียงให้กลับบ้านจะทำอย่างไรที่จะ encourage ผป.และชุมชน เพื่อให้ผป.กลับสู่สภาพเดิมให้มากที่สุด เน้นในรพ.ก่อนในรพ.สต.

More Related