1 / 25

สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8

สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8. โดย. นางสาวระวีวรรณ ยิ่งวรรณศิริ ผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8. สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554. กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา.

erica-dale
Télécharger la présentation

สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8 โดย นางสาวระวีวรรณ ยิ่งวรรณศิริ ผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8

  2. สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554 กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา

  3. ประวัติกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ยประวัติกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย จัดตั้งเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2542 สมาชิกก่อตั้ง จำนวน 19 คน สมาชิกปัจจุบัน 84 คน ที่ทำการกลุ่ม เลขที่ 74 ม.4 ต. มะรุ่ย อ. ทับปุด จ. พังงา ประธานกลุ่ม นายประสงค์ ลูกแก้ว

  4. สภาพพื้นที่ และที่มา • ในพื้นที่ตำบลมะรุ่ย เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน และมีพื้นที่ว่างในสวน จึงมีความคิดที่จะใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้เสริม ประกอบกับในพื้นที่มีการเลี้ยงโคหลายราย จึงได้รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มโคเนื้อมะรุ่ยขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2542 • ได้จดทะเบียนกับองค์กรเกษตรกรตาม พรบ. กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พุทธศักราช 2542 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546

  5. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่มความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม 1. ได้รับรางวัลสถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554 2.ได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ดีเด่น ระดับจังหวัด ตั้งแต่ปี 2542 3. ได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ดีเด่น ระดับ สสอ.ที่ 8 3.1 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 2 ปี 2548 3.2 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 3 ปี 2551

  6. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 3.3 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 2 ปี 2552 3.4 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ปี 2553 3.5 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ปี 2554 4.สมาชิกกลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นอาสาปศุสัตว์ดีเด่น ระดับสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8 5.สมาชิกกลุ่มมีการพัฒนาโคเนื้อของกลุ่มได้รับการปรับปรุงพันธุ์จนเป็นที่ยอมรับและได้รับรางวัลจากการประกวดโคเนื้อในงานวันปศุสัตว์จังหวัดพังงา ประจำปี 2553 6.กลุ่มได้รับการคัดเลือกเป็นแหล่งดูงานกิจกรรมศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมปศุสัตว์อินทรีย์

  7. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 7. กลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นแบบอย่างการเลี้ยงโคเนื้อเพื่อทำสารคดีเกี่ยวกับการเลี้ยงโคเนื้อเชิงอนุรักษ์เพื่อเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT) รายการนักปกครองไทยใจเกินร้อย ตอนที่ 5 จังหวัดพังงา

  8. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 8. กลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นแหล่งศึกษาดูงานของเกษตรกรและผู้สนใจ ได้แก่ เกษตรกรจาก 3 จังหวัดชายแดนใต้ , วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อบางเหรียง

  9. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 9. ได้ลงพิมพ์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย ในวารสารข่าวปศุสัตว์ ฉบับที่ 284 เมษายน – พฤษภาคม 2554

  10. ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 10. ได้ลงพิมพ์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ตามรอยเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ปี 54 ” กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะลุ่ย ” ในวารสารสัตว์เศรษฐกิจ

  11. บทบาทของกลุ่ม 1. คณะกรรมการบริหารกลุ่มมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และอยู่ในวาระชุดละ 2 ปี

  12. บทบาทของกลุ่ม ( ต่อ ) 2.มีการประชุมกลุ่ม - ประชุมประจำเดือน ทุกวันที่ 20 ของเดือน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้และปัญหาของสมาชิก - ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วันที่ 20 มกราคมของทุกปี

  13. บทบาทของกลุ่ม ( ต่อ ) 3.บริหารงานกลุ่มภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม 4. จัดตั้งกองทุนสัจจะออมทรัพย์ เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืม 5. จัดตั้งกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือครอบครัวสมาชิกในกรณีที่เสียชีวิต

  14. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 1. มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน 2. มอบทุนยังชีพผู้สูงอายุ

  15. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ( ต่อ ) 3.ร่วมเป็นคณะดูแลความปลอดภัยประจำหมู่บ้าน และดูแลด้านยาเสพติด

  16. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ( ต่อ ) 5.ร่วมพัฒนาสาธารณะประโยชน์ เช่น ถนน วัด โรงเรียน ฯลฯ 6.ร่วมปลูกป่าชายเลน 7.ร่วมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ

  17. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( ต่อ ) • ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 1.รณรงค์ให้สมาชิกปลูกพืชสมุนไพรแทนยาปฏิชีวนะ 2.ส่งเสริมให้สมาชิกใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเป็นอาหารสัตว์

  18. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( ต่อ ) 3.ส่งเสริมให้สมาชิกใช้มูลสัตว์แทนปุ๋ยเคมี

  19. ประมวลภาพการประกวด ปี 53

  20. ประมวลภาพการประกวด ปี 54

More Related