1 / 76

Model Management

Model Management. อ. นฤ เศรษฐ์ ประเสริฐศรี, อ.สาธิต แสงประดิษฐ์ สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เนื้อหา. ความหมายของแบบจำลอง แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับปัญหาที่มีจำนวนทางเลือกน้อย แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยใช้อัลกอริทึม

Télécharger la présentation

Model Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Model Management อ. นฤเศรษฐ์ ประเสริฐศรี, อ.สาธิต แสงประดิษฐ์ สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  2. เนื้อหา • ความหมายของแบบจำลอง • แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับปัญหาที่มีจำนวนทางเลือกน้อย • แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยใช้อัลกอริทึม • แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยการวิเคราะห์ด้วยสูตร • แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation) • แบบจำลองฮิวริสติค (Heuristic) • แบบจำลองทางการเงิน (Financial Model) • แบบจำลองทางสถิติ (Statistical Model) • แบบจำลองชนิดอื่น ๆ • ระบบจัดการฐานแบบจำลอง (Model Base Management System: MBMS)

  3. ความหมายของแบบจำลอง • ความหมายเชิงบรรยาย (Description) • ความหมายเชิงสภาวะ (Static and Dynamic) • ความหมายเชิงการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์

  4. ความหมายเชิงบรรยาย (Description) • แบบจำลองเชิงรูปภาพ (Graphical Model) • Data Flow Diagram, Document Flow Diagram • แบบจำลองเชิงบรรยาย (Narrative Model) • Natural Language • แบบจำลองเชิงกายภาพ (Physical Model) • แบบจำลองสิ่งก่อสร้าง อาคาร และสถานที่ เป็นต้น

  5. ความหมายเชิงสภาวะ (Static and Dynamic) • แบบจำลองคงที่ (Static Model) • แบบจำลองที่นำมาใช้ประเมินสภาพการณ์เฉพาะช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น แบบจำลองวิเคราะห์รายรับ-จ่ายประจำเดือน ไตรมาส ปี เป็นต้น • แบบจำลองเคลื่อนไหว (Dynamic Model) • แบบจำลองที่นำมาใช้ประเมินสภาพการณ์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงตัวแปรได้ตลอดทุกช่วงเวลา มีความเป็นอิสระต่อช่วงเวลา (Time Dependent) เช่น การคำนวณหาจำนวนจุดชำระเงินที่เหมาะสมกับปริมาณลูกค้าในแต่ละวัน ของแต่ละช่วงเวลา โดยแบบจำลองสามารถแสดงแนวโน้มและแบบแผนต่าง ๆ ได้ครอบคลุมทุกช่วงเวลา

  6. ความหมายเชิงการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ความหมายเชิงการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ • แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการหาทางเลือกที่ดีที่สุด (Optimization Model) • แบบจำลองทางการเงิน (Financial Model) เช่น สูตรคำนวณทางการเงินต่างๆ • แบบจำลองทางสถิติ (Statistical Model) การคำนวณทางสถิติที่วิเคราะห์ข้อมูลในอดีตและปัจจุบัน เพื่อทำนายหรือพยากรณ์ข้อมูลหรือเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การวิเคราะห์แบบมาร์คอฟ การวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอย การวิเคราะห์ด้วยอนุกรมเวลา

  7. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการหาทางเลือกที่ดีที่สุด Optimization Model (1/2) • หาทางเลือกที่ดีที่สุด สำหรับปัญหาที่มีจำนวนทางเลือกน้อย • Decision Table, Decision Tree • หาทางเลือกที่ดีที่สุด โดยใช้อัลกอริทึม • Linear Programming, Goal Programming, Network Model • หาทางเลือกที่ดีที่สุด โดยการวิเคราะห์ด้วยสูตร • แบบจำลองสำหรับจัดการสินค้าคงคลัง (ใช้สูตรเพื่อหาจุดสั่งซื้อวัตถุดิบ และปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม)

  8. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการหาทางเลือกที่ดีที่สุด Optimization Model (2/2) • หาทางเลือกที่ดีที่สุด ด้วยการจำลองสถานการณ์ (Simulation) • แบบจำลองการเลือกทางเลือกต่าง ๆ ในการตัดสินใจ เช่น แบบจำลองสถานการณ์ความน่าจะเป็น แบบจำลองสถานการณ์ที่มีความสัมพันธ์กับเวลา แบบจำลองเสมือนจริง แบบจำลองเชิงวัตถุ • หาทางเลือกที่ดีที่สุด ด้วยวิธีการฮิวริสติค (Heuristic) • แบบจำลองสำหรับหาทางเลือกที่ดี และรวดเร็วที่สุด สำหรับปัญหาที่มีความซับซ้อน เช่นระบบผู้เชี่ยวชาญ และ Heuristic Programming

  9. Notation Used in Decision Trees • A box is used to show a choice that the manager has to make. • A circle is used to show that a probability outcome will occur. • Lines connect outcomes to their choice or probability outcome.

  10. Decision Tree Example 1 Joe’s garage is considering hiring another mechanic. The mechanic would cost them an additional $50,000 / year in salary and benefits. If there are a lot of accidents in Providence this year, they anticipate making an additional $75,000 in net revenue. If there are not a lot of accidents, they could lose $20,000 off of last year’s total net revenues. Because of all the ice on the roads, Joe thinks that there will be a 70% chance of “a lot of accidents” and a 30% chance of “fewer accidents”. Assume if he doesn’t expand he will have the same revenue as last year. Draw a decision tree for Joe and tell him what he should do.

  11. 70% chance of an increase in accidents Profit = $70,000 Hire new mechanic Cost = $50,000 30% chance of a decrease in accidents Profit = - $20,000 Don’t hire new mechanic Cost = $0 .7 .3 • Estimated value of “Hire Mechanic” = NPV =.7(70,000) + .3(- $20,000) - $50,000 = - $7,000 • Therefore you should not hire the mechanic

  12. Decision Tree Example 2 Mary is a manager of a gadget factory. Her factory has been quite successful the past three years. She is wondering whether or not it is a good idea to expand her factory this year. The cost to expand her factory is $1.5M. If she does nothing and the economy stays good and people continue to buy lots of gadgets she expects $3M in revenue; while only $1M if the economy is bad. If she expands the factory, she expects to receive $6M if economy is good and $2M if economy is bad. She also assumes that there is a 40% chance of a good economy and a 60% chance of a bad economy. (a) Draw a Decision Tree showing these choices.

  13. 40 % Chance of a Good Economy Profit = $6M Expand Factory Cost = $1.5 M 60% Chance Bad Economy Profit = $2M Good Economy (40%) Profit = $3M Don’t Expand Factory Cost = $0 Bad Economy (60%) Profit = $1M .4 .6 .4 .6 NPVExpand = (.4(6) + .6(2)) – 1.5 = $2.1M NPVNo Expand = .4(3) + .6(1) = $1.8M $2.1 > 1.8, therefore you should expand the factory NPV = Net Present Value

  14. Condition Alternatives Conditions Actions Action Entries Decision Table (IfConditionsThenActions) Printer troubleshooter If Printer does not print AND A red light is flashing AND Printer is recognized Then Check/replace ink AND Check for paper jam

  15. Example Rule 1: IF it is raining AND it is not warm today THEN take an umbrella AND take an overcoat. Rule 2: IF it is raining AND it is warm today THEN take a raincoat Rule 3: IF it is not raining AND the weather forecast is fine AND it is warm today THEN do not take an umbrella, a raincoat, or an overcoat Rule 4: IF it is not raining AND the weather forecast is fine AND it is not warm today THEN take an overcoat Rule 5: IF it is not raining AND the weather forecast is not fine AND it is warm today THEN take an umbrella Rule 6: IF if is not raining AND the weather forecast is not fine AND it is not warm today THEN take an umbrella AND take an overcoat

  16. Y Y Y Y N N N N Y Y N N Y Y N N Y N Y N Y N X X X X X X Example Weather Forecast It is raining the weather forecast is fine Y N It is warm today X Take an umbrella X X Take A raincoat Take An overcoat X

  17. แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยใช้อัลกอริทึม (1/2) • การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) เป็นเทคนิคของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่มีการนำมาใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับบริหารงานทางด้านต่าง ๆ เช่น การวิเคราะห์เชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เนื่องจากผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ไม่มีความชำนาญด้าน Optimization หรือ Simulation จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่จะใช้การโปรแกรมเชิงเส้น ที่สามารถสร้างได้จาก Microsoft Excel เทคนิคการเขียนโปรแกรมเชิงเส้น คือ ความพยายามทำให้สมการวัตถุประสงค์ (Objective Function) มีค่ามากหรือน้อยที่สุดตามที่ต้องการ โดยการแก้ปัญหาอาจใช้โปรแกรมกระดาษคำนวณ (Spreadsheet) หรือการเขียนกราฟเพื่อหาผลลัพธ์จากสมการ

  18. Linear Programming(1/7) • คุณลักษณะของการโปรแกรมเชิงเส้น • สามารถจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอย่างจำกัดได้อย่างเหมาะสม และตรงตามเป้าหมายมากที่สุด • ต้องมีการกำหนดแหล่งทรัพยากรเพื่อใช้ในกระบวนการผลิต • การจัดสรรทรัพยากร จะประกอบด้วยเงื่อนไข และข้อบังคับ (Constraint) • การกำหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของการแก้ปัญหา สามารถเขียนเป็นสมการวัตถุประสงค์ (Objective Function) • สมการวัตถุประสงค์ ต้องมีการกำหนดค่ามากสุด(Maximized) หรือน้อยสุด(Minimized) ในการแก้ปัญหา เช่น สมการวัตถุประสงค์สำหรับรายจ่าย ควรกำหนดให้สมการมีค่าน้อยสุด

  19. Linear Programming(2/7) • องค์ประกอบของโปรแกรมเชิงเส้น • ตัวแปรในการตัดสินใจแก้ปัญหา ต้องเป็นตัวแปรที่ยังไม่ทราบค่า (Decision Variable) • สมการวัตถุประสงค์ ต้องพยายามให้มีค่ามากสุด หรือน้อยสุด โดยมีรูปแบบของสมการทั่วไปดังนี้ Max หรือ Min = a1x1 + a2x2 + a3x3 + … + anxn โดยที่ xiแทน ตัวแปรการตัดสินใจ aiแทน สัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรการตัดสินใจตัวที่ ii หรือ “Objective Function Coefficient”ที่ใช้แสดงค่าผลกำไร หรือค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของตัวแปรในการตัดสินใจ

  20. Linear Programming(3/7) • องค์ประกอบของโปรแกรมเชิงเส้น(ต่อ) • เงื่อนไขและข้อบังคับ (Constraint) จะเขียนเป็นรูปแบบสมการ หรือ อสมการข้อจำกัด โดยมีรูปแบบทั่วไปของสมการดังนี้ a11x1 + a12x2 + a13x3 + … + a1nxn <= b1 a21x1 + a22x2 + a23x3 + … + a2nxn <= b2 am1x1 + am2x2 + am3x3 + … + amnxn <= bm โดยที่ xiแทน ตัวแปรการตัดสินใจ aiแทน สัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรการตัดสินใจตัวที่ ii หรือ “Objective Function Coefficient”ที่ใช้แสดงค่าผลกำไร หรือค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของตัวแปรในการตัดสินใจ biแทน ปริมาณของทรัพยากรที่มีอยู่ หรือเรียกว่า “Capacity” ที่ใช้บอกขีดจำกัดของข้อบังคับ • ขอบเขตของตัวแปรการตัดสินใจ เช่น การกำหนดให้ตัวแปรการตัดสินใจต้องเป็นตัวเลขจำนวนบวกเท่านั้นเป็นต้น

  21. Linear Programming(4/7) • สมมติให้บริษัท ไทยทัศน์ ดำเนินการขายกล่องไม้สีแดง สีส้ม และกล่องที่ยังไม่ได้ทาสี โดยมีข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการดังนี้ • กล่องไม้สีแดงและสีส้มผลิตจากกล่องไม้ที่ยังไม่ได้ทาสีแล้วนำมาทาสีที่ต้องการ • การผลิตกล่องไม้สีแดง ต้องใช้กล่องไม้ที่ยังไม่ได้ทาสี 1 กล่องและสีแดงอีก 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร • การผลิตกล่องไม้สีส้ม ต้องใช้กล่องไม้ที่ยังไม่ได้ทาสี 1 กล่องและสีแดงและสีเหลืองอย่างละ 0.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร • บริษัทสามารถทำกำไรจากกล่องสีส้มและสีแดง และไม่ได้ทาสี 2, 1.50 และ 1 บาทต่อลูก ตามลำดับ โดยกำไรขึ้นอยู่กับราคาขายและค่าใช้จ่ายในการผลิตกล่องไม้แต่ละชนิด • ขณะนี้บริษัทมีกล่องที่ยังไม่ได้ทาสี 100 ลูก มีสีแดง 20 และสีเหลือง 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร • ปัญหาคือบริษัทต้องการได้กำไรมากที่สุดจากการดำเนินการนี้ อยากทราบว่าจะผลิตสินค้าแต่ละชนิดเป็นจำนวนเท่า

  22. Linear Programming(5/7) • แนวทางการแก้ปัญหา • พิจารณาเพื่อให้ได้ข้อมูลจากปัญหา คือ • ขายกล่องไม้ที่ยังไม่ได้ทาสีทั้ง 100 ใบ จะได้กำไร = 100 * 1 (กำไรต่อกล่อง) • ขายกล่องไม้ที่มีสีแดง 20 ใบต้องใช้สีทั้งหมดที่มี จะได้กำไร = (80*1) + (20*1.5) = 110 • ต้องการได้กำไรสูงสุด ขายกล่องสีส้ม 20 ใบ ขายกล่องแดง 10 ใบ และกล่องที่ไม่ได้ทาสี 70 ใบ จะได้กำไร = (20*2) + (10*1.5) + (70*1) = 125

  23. Linear Programming(6/7) • แก้ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรด้วยการโปรแกรมเชิงเส้น • กำหนดสมการวัตถุประสงค์และสมการข้อจำกัด • กำหนดให้ตัวแปรในการตัดสินใจ คือ X1แทน กล่องไม้สีแดงที่จะผลิต X2แทน กล่องไม้สีส้มที่จะผลิต X3แทน กล่องไม้ที่ไม่ได้ทาสีที่จะผลิต • วัตถุประสงค์การตัดสินใจคือ ต้องการกำไรสูงสุด (Z) MAX: Z = 1.5X1 + 2X2 + X3 • มีเงื่อนไข คือ มีจำนวนกล่อง 100 กล่องที่ไม่ได้ทาสี มีสีแดง 20 และ สีเหลือง 10 ลูกบาศก์เมตรตามลำดับ สามารเขียนเป็นสมการดังนี้ X1 + X2 + X3 = 100 (1) กล่องที่ผลิตทั้งหมด 100 ใบ X1 + 0.5X2 = 20 (2) การผลิตกล่องสีแดง และสีส้ม (ดูหน้าถัดไป) 0.5X2 = 10 (3) การผลิตกล่องสีส้ม ต้องใช้สีเหลือง 0.5 จาก10 ลูกบาศก์เมตร

  24. Linear Programming(7/7) • แก้ปัญหาด้วยสมการ การโปรแกรมเชิงเส้น(ต่อ) • คำอธิบาย • จากสมการที่ 1 กล่องที่ผลิตทั้งหมด 100 ใบ • จากสมการที่ 2 การผลิตกล่องสีแดง และสีส้ม ต้องใช้สีแดงเท่ากับ 1 และ 0.5 ลูกบาศก์เซนติเมตรตามลำดับ โดยที่มีสีแดงทั้งหมด 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร • จากสมการที่ 3 การผลิตกล่องสีส้ม ต้องใช้สีเหลืองเท่ากับ 0.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยที่มีสีเหลืองทั้งหมด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร • แก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้นด้วย Microsoft Excel

  25. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  26. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  27. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  28. แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยใช้อัลกอริทึม (2/2) • แบบจำลองข่ายงาน (Network Model) แบบจำลองที่ใช้กับปัญหาที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อน ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ ของปัญหามีความสัมพันธ์ในลักษณะเครือข่าย หรือบางครั้งมีโครงสร้างแบบต้นไม้แนวกว้าง (Spanning Tree) เช่น • ปัญหาการขนส่งสินค้า (Transportation Problem) • ปัญหาการมอบหมายงาน(Assignment Problem) • ปัญหาการทดแทนอุปกรณ์ (Equipment Replacement Problem) • ปัญหาเส้นทางที่สั้นที่สุด (Shortest Path Problem) • ปัญหาการไหลสูงสุด (Maximum Flow Problem) • ปัญหาการไหลเป็นลำดับขั้น (Generalized Flow Problem)

  29. A 400 500 200 300 200 O B D S 100 300 400 700 C E 30 2 1 +5 -15 10 5 25 10 3 4 +1 +4 Network Model(1/7) (a) (b)

  30. Network Model(2/7) • คุณลักษณะของแบบจำลองข่ายงาน • แก้ปัญหาที่องค์ประกอบของปัญหามีความสัมพันธ์กันในลักษณะเครือข่ายหรือมีโครงสร้างแบบต้นไม้ • ปัญหาจะถูกนำเสนอในรูปแบบแผนภาพต้นไม้หรือเครือข่าย ประกอบด้วย โหนด(Nodes) และลูกศรหรือเส้นตรงแสดงทิศทาง (Arcs) เชื่อมโยงแต่ละโหนด • โหนด ใช้แทนจุดแต่ละจุดในข่ายงาน เช่น สถานที่ ที่ตั้งของคลังสินค้าเป็นต้น • ลูกศรแสดงทิศทางหรือเส้นเชื่อมโหนด เช่น เส้นทางถนน การบิน สายโทรศัพท์ • โหนดแบ่งออกเป็น 2 แบบ • โหนดรับ/โหนดอุปสงค์ (Demand Nodes) มีเครื่องหมายบวก (+) กำกับอยู่หน้าตัวเลขรับสินค้า • โหนดส่ง/โหนดอุปทาน (Supply Nodes) มีเครื่องหมายบวก (-) กำกับอยู่หน้าตัวเลขส่งสินค้า • การไหล (Flow) คือ ค่าใด ๆ ที่กำหนดให้โหนดรับและส่ง โดยมีลูกศรแสดงทิศทางการไหล

  31. Network Model(3/7) สมมติให้ บริษัทไทยทัศน์ ผลิตกระเป๋า และส่งสินค้าขายไปยังภูมิภาคต่าง ๆ โดยมีศูนย์กระจายสินค้าอยู่ใน 3 จังหวัด คือ ลำปาง ขอนแก่น และสงขลา โดยที่ศูนย์กระจายสินค้าดังกล่าวต้องมีการกระจายสินค้าไปตัวแทนจำหน่ายรายย่อยอีก 4 จังหวัดคือ เชียงใหม่ อุดรธานี นครราชสีมา และสุราษฎร์ธานี ตามปริมาณการสั่งซื้อ ซึ่งมีหน่วยเป็นกล่อง กล่องละ 12 ใบ โดยที่บริษัทผลิตกระเป๋าได้เดือนละ 2000 กล่อง เพื่อกระจายไปทั้ง 3 จังหวัด คือ ลำปาง ขอนแก่น และสงขลา จำนวน 700, 800 และ 500 กล่อง/เดือน ซึ่งต้องเพียงพอต่อการสั่งซื้อจากตัวแทนรายย่อยของแต่ละจังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ 750 กล่อง อุดรธานี 200 กล่อง นครราชสีมา 600 กล่อง และสุราษฏร์ธานี 450 กล่อง /เดือน และมีรายละเอียดต้นทุนการขนส่งต่อกล่อง จากศูนย์กระจายสินค้าไปยังตัวแทนจำหน่ายรายย่อย ดังนี้

  32. Network Model(4/7) ทางบริษัทต้องการทราบปริมาณสินค้าที่จะต้องขนส่งซึ่งมีหน่วยเป็นกล่อง ว่าจากศูนย์กระจายสินค้า 3 จังหวัด ไปยังตัวแทนจำหน่ายรายย่อย 4 จังหวัด ที่จะสามารถลดต้นทุนในการขนส่งให้ได้ มากที่สุด

  33. Network Model(5/7) ปริมาณสินค้า (กล่อง) ศูนย์กระจายสินค้า ตัวแทนจำหน่าย ปริมาณการสั่งซื้อ เชียงใหม่ (โหนด 5) ต้นทุนต่อกล่อง 750 0.5 ลำปาง (โหนด 1) 1.5 700 อุดรธานี (โหนด 6) 1 2 200 1 0.5 ขอนแก่น (โหนด 2) 800 0.5 นครราชสีมา (โหนด 7) 1.25 600 2 2 สงขลา (โหนด 3) 2 500 0.5 สุราษฎร์ธานี (โหนด 8) 450

  34. Network Model(6/7) • แก้ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรด้วยแบบจำลองเครือข่าย • กำหนดให้ Xij โดยที่ X แทน โหนด ให้ i และ j แทน โหนดต้นทางและปลายทางตามลำดับ • สมการวัตถุประสงค์ MIN: Z = 0.5X14 + 1.50X15 + 1X16 + 2X17 + 1X24 + 0.5X25 + 0.5X26 + 1.25X27 + 2X34 + 2X35 + 2X36 + 0.5X37

  35. Network Model(7/7) ข้อจำกัด :- X14 + X15 + X16 + X17 = 700 ปริมาณสินค้าจากลำปาง X24 + X25 + X26 + X27 = 800 ปริมาณสินค้าจากขอนแก่น X34 + X35 + X36 + X37 = 500 ปริมาณสินค้าจากสงขลา X14 + X24 + X34 = 750 ปริมาณความต้องการสินค้าของเชียงใหม่ X15 + X25 + X35 = 200 ปริมาณความต้องการสินค้าของอุดรธานี X16 + X26 + X36 = 600 ปริมาณความต้องการสินค้าของนครราชสีมา X17 + X27 + X37 = 450 ปริมาณความต้องการสินค้าของสุราษฎร์ธานี Xij >= 0 สำหรับทุก i และ j • แก้ปัญหาแบบจำลองข่ายงาน ด้วย Microsoft Excel

  36. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  37. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  38. การแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรม QM for Windows

  39. แบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยการวิเคราะห์ด้วยสูตรแบบจำลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดโดยการวิเคราะห์ด้วยสูตร • แบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Model) • แบบจำลองปัญหาขนส่ง (Transportation Problem)

  40. แบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Model) วัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง คือ เพื่อให้เกิดค่าใช้จ่ายจากการมีสินค้าคงเหลือน้อยที่สุด(สินค้าคงคลังอาจเป็นวัตถุดิบ หรือ ปริมาณสินค้าเพื่อจำหน่าย) เนื่องจากบริษัทจำเป็นต้องมีสินค้าคงคลังให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า อย่างไรก็ตาม บริษัทจำเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายสำหรับการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ดังนั้นบริษัทจึงต้องนำเอาเทคนิคต่าง ๆ ในการจัดการสินค้าคงคลังมาใช้ ได้แก่ การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity: EOQ) ระดับสินค้าคงเหลือเพื่อความปลอดภัย (Level of Safety Stock) และจุดสั่งซื้อสินค้า (Reorder Point) เป็นต้น

  41. การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity: EOQ)(1/2) • การกำหนดปราณการสั่งซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ ณ ระดับที่ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมของสินค้าน้อยที่สุด ? โดยปัจจัยที่ใช้พิจารณาประกอบด้วย • ปริมาณสินค้า หรือวัตถุดิบที่ต้องใช้ในช่วงเวลาที่คำนวณ • อัตราการขายสินค้าอย่างสม่ำเสมอ • ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าขาดมือยังไม่ได้นำมาพิจารณา (Stock Out Cost) • ระดับสินค้าคงเหลือเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) ยังไม่ได้นำมาพิจารณา • ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost)เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณีย์ อื่น ๆ • ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้า (Carry Cost) • ปัจจัยอื่น ๆ เช่น ส่วนลด ระยะเวลาในการสั่ง และส่งสินค้าไม่ได้นำมาพิจารณา

  42. การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (2/2) โดยที่ EOQ = ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อครั้ง D = Demand คือ ความต้องการสินค้า/ปี O = Ordering Cost คือ ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อสินค้าต่อครั้ง C = Carrying Cost คือ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี และเราสามารถคำนวณหาต้นทุนการสั่งซื้อรวมต่อปีจาก EOQ

  43. ต้นทุนการสั่งซื้อรวมต่อปี = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อทั้งหมดต่อปี + ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาต่อปี โดยที่ Q = (EOQ) ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อครั้ง D = Demand คือ ความต้องการสินค้า/ปี O = Ordering Cost คือ ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อสินค้าต่อครั้ง C = Carrying Cost คือ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี

  44. ตัวอย่างการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด EOQ ร้านถ่ายเอกสารแห่งหนึ่ง ต้องการสั่งซื้อกระดาษสำหรับถ่ายเอกสาร โดยทางร้านมีความต้องการ (D) ใช้เอกสาร 7,500 รีมต่อปี ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อกระดาษแต่ละครั้ง (O) 100 บาท ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้า (C) 10 บาท/หน่วย/ปี ต้องการทราบว่าจะสั่งซื้อกระดาษอย่างไรให้ประหยัดที่สุด

  45. การแก้ปัญหา (1/2) • ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด/ครั้ง (EOQ) D = 7,500 รีม/ปี; O= 100 บาท/ครั้ง; C = 10 บาท/หน่วย/ปี แทนค่าในสูตร = 387.29 รีม/ครั้ง ดังนั้น ควรสั่งซื้อกระดาษ ประมาณ 388 รีม/ครั้ง จะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายมากที่สุด

  46. การแก้ปัญหา (2/2) • ต้นทุนการสั่งซื้อรวมต่อปี D = 7,500 รีม/ปี; O= 100 บาท/ครั้ง; C = 10 บาท/หน่วย/ปี; Q = 388 รีม/ครั้ง แทนค่าในสูตร = = 3,872.99 บาท/ปี ต้นทุนการสั่งซื้อรวมต่อปี ประมาณ 3,873 บาท/ปี

  47. แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation)(1/) การสร้างสถานการณ์สมมติ โดยอาศัยข้อเท็จจริงเสมือนสถานการณ์จริง เพื่อทดลองตัดสินใจแก้ปัญหา และวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้รับจากการทดลองก่อนนำไปใช้แก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริงต่อไป เช่น การวิเคราะห์เชิงเงื่อนไข (What-if Analysis)

  48. แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation) (2/) • คุณลักษณะของแบบจำลอง • มีการตรวจสอบความถูกต้อง แบบจำลองต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องก่อนเป็นอันดับแรกเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด โดยตรวจสอบทั้งทาง Logic และการคำนวณว่าถูกต้องหรือไม่ • มีเหตุผล เป็นการตรวจสอบว่าผลที่ได้ต้องอยู่ในขอบเขตของผลลัพธ์ที่คาดคะเนไว้และแบบจำลองนั้นทำงานอย่างถูกต้อง โดยสามารถนำผลลัพธ์นั้นมาวิเคราะห์ได้ • ลดความเบี่ยงเบน โดยใช้ค่าสุ่มเดียวกันเพื่อลดความแปรผันและเพิ่มความถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับองค์ประกอบที่ต่างกันได้ • สามารถเลียนแบบสถานการณ์มากกว่าเป็นการนำเสนอสถานการณ์จริง • มีการคาดการณ์สถานการณ์จริง ภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ กัน

  49. แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation) (3/) • ชนิดของแบบจำลองสถานการณ์ • แบบจำลองสถานการณ์ความน่าจะเป็น (Probabilistic Simulation) • แบบจำลองสถานการณ์ที่มีความสัมพันธ์กับเวลา (Time-Independent/Time-Dependent Simulation) • แบบจำลองสถานการณ์ภาพเสมือนจริง (Visual Simulation) • แบบจำลองสถานการณ์เชิงวัตถุ (Object-Oriented Simulation)

  50. แบบจำลองฮิวริสติค (Heuristic) แบบจำลองฮิวริสติค คือ แบบจำลองที่ใช้แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อน กล่าวคือ ปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างและปัญหากึ่งโครงสร้าง ซึ่งมีตัวแปรที่มีค่าไม่แน่นอน เนื่องจากการแก้ปัญหาแบบฮิวริสติคโดยแท้จริงแล้วก็คือ การแก้ไขปัญหาโดยอาศัยกฎเกณฑ์ง่าย ๆ ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาลักษณะเดียวกันในอดีต จึงทำให้การแก้ปัญหามีความรวดเร็วมากขึ้นนั่นเอง

More Related