1 / 38

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง ( Forces )

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง ( Forces ). วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6. แรง ( Forces ). 1. แรง 2. ชนิดของแรง 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก 4. แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส. 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุ ในสนามโน้มถ่วง

jericho-nen
Télécharger la présentation

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง ( Forces )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1เรื่อง แรง (Forces) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

  2. แรง (Forces) • 1. แรง • 2. ชนิดของแรง • 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก • 4. แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส

  3. 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุ ในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก

  4. ผลการเรียนรู้ • 1. อธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วงได้ • 2. อธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามไฟฟ้าได้ • 3. อธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามแม่เหล็กได้ • 4. ยกตัวอย่างการเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กได้

  5. 1. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามไฟฟ้า 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามแม่เหล็ก 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก

  6. 1. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง • 1) กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง • 2) กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวระดับ • 3) กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเฉียงใด ๆ (โพรเจกไทล์) • 4) การเคลื่อนที่ของดาวเทียม

  7. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง • วัตถุเคลื่อนที่ดิ่งขึ้น แรงโน้มถ่วงจะต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าลง • วัตถุเคลื่อนที่ดิ่งลง แรงโน้มถ่วงดึงวัตถุลงในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้น

  8. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง http://library.thinkquest.org/2779/Even_more.html

  9. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง http://www.astronomynotes.com/relativity/s3.htm

  10. การเคลื่อนที่ในแนวระดับการเคลื่อนที่ในแนวระดับ • เมื่อวัตถุพยายามพุ่งไปข้างหน้า แต่แรงโน้มถ่วงของโลกกระทำบนวัตถุในทิศดิ่งลง • ทำให้ทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุเปลี่ยนเป็นเส้นโค้ง • เรียก การเคลื่อนที่แบบนี้ ว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (projectile)

  11. การเคลื่อนที่ในแนวเฉียงใด ๆ • เส้นทางการเคลื่อนที่จะเป็นเส้นโค้ง ซึ่งก็เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (projectile) เช่นเดียวกัน

  12. Projectile http://scienceworld.wolfram.com/physics/Projectile.html

  13. Projectile http://library.thinkquest.org/2779/Even_more.html

  14. Here are the formulas that describe projectile motion:

  15. การเคลื่อนที่ของดาวเทียมการเคลื่อนที่ของดาวเทียม • ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้ เพราะมีแรงโน้มถ่วงที่โลกส่งไปกระทำกับดาวเทียม • เนื่องจากแรงโน้มถ่วงและแรงหนีศูนย์มีทิศตรงข้ามและมีขนาดเท่ากัน

  16. 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามไฟฟ้า • 1) เมื่อปล่อยอนุภาคประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า • 2) เมื่อยิงอนุภาคประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า

  17. 1) เมื่อปล่อยอนุภาคประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า • ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุ + จะมีแรงไฟฟ้ากระทำในทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า • อนุภาคจึงเคลื่อนที่จาก + ไปยัง - • ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุ - จะมีแรงไฟฟ้ากระทำในทิศทางตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า • อนุภาคจึงเคลื่อนที่จาก - ไปยัง +

  18. F = qE http://www.physics.miami.edu/~zuo/class/fall_05/lecture%20supp.html

  19. 2) เมื่อยิงอนุภาคประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า • ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุ + จะมีแรงไฟฟ้ากระทำในทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า • ดังนั้น ถ้ายิงประจุบวกสวนทิศสนามไฟฟ้า ประจุจะวิ่งช้าลง • ถ้ายิงอนุภาคประจุไฟฟ้าตัดสนามไฟฟ้า • อนุภาคประจุ + จะเคลื่อนที่เป็นทางโค้งเข้าหาแผ่นที่มีประจุ + • อนุภาคประจุ - จะเคลื่อนที่เป็นทางโค้งเข้าหาแผ่นที่มีประจุ - (ตรงข้ามกับประจุ + )

  20. Earth's magnetic field http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  21. 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามแม่เหล็ก • 1) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ขนานกับสนามแม่เหล็ก • 2) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก • 3) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าซึ่งตั้งฉากกัน • 4) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก • 5) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กโลก • 6) การประยุกต์ใช้การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก

  22. 1) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ขนานกับสนามแม่เหล็กBar magnets (permanent magnets) ไม่มีแรงแม่เหล็กมากระทำ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ด้วยความเร็วคงที่ http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  23. 2) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก • มีแรงแม่เหล็กมากระทำตามกฎมือขวา • ถ้าสนามแม่เหล็กคงที่อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งวงกลม • โดยแรงแม่เหล็กมีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลาง

  24. Orbit of charged particlein a magnetic field http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  25. 3) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าซึ่งตั้งฉากกัน • มีแรงแม่เหล็ก มากระทำตามกฎมือขวา และมีแรงไฟฟ้า ตามกฎของคูลอมป์ • ถ้าแรงแม่เหล็กและแรงไฟฟ้า มีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกัน • อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง • เรียกเครื่องมือที่วัดนี้ ว่า เครื่องคัดเลือกความเร็ว (velocity selector)

  26. เครื่องคัดเลือกความเร็ว (Velocity selector) http://arabelect.net/learns/Fluxs1.jpg

  27. Velocity selector for charged particles http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  28. 4) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก • มีแรงแม่เหล็กมากระทำตามกฎมือขวา • ถ้าสนามแม่เหล็กคงที่ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นเกลียววงกลม รอบสนามแม่เหล็ก • โดยแรงแม่เหล็กมีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลาง • แต่ถ้าสนามแม่เหล็กไม่คงที่ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นเกลียวใด ๆ รอบสนามแม่เหล็ก

  29. 5) เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กโลก • มีแรงแม่เหล็กทำให้อนุภาคประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เป็นเกลียวใด ๆ รอบสนามแม่เหล็กโลก เพราะสนามแม่เหล็กโลกไม่คงที่

  30. Van Allen radiation belts around the Earth http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  31. Magnetic field lines of a permanent magnet, cylindrical coil, iron-core electromagnet, straight current-carrying wire, and a circular current-carrying loop. http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  32. 6) การประยุกต์ใช้การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก • มีอุปกรณ์หลายชนิดที่ใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก เช่น • 1. เคลื่องไซโคลตรอน (cyclotron) • 2. แมสสเปกโทรมิเตอร์ (mass spectrometer)

  33. Cyclotron http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/magnetic/cyclot.html

  34. Mass spectrometer http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  35. Sir. Joseph John Thomson (1856-1940) • 1897 English experimental physicist John Joseph Thomson discovered the electron, the first elementary particle, at Cambridge University's Cavendish Laboratory in 1897. • He used a cathode ray tube to measure the charge/mass ratio of the cathode ray particles that we now know are electrons. http://www.fnal.gov/pub/inquiring/timeline/02.html

  36. Sir. Joseph John Thomson (1856-1940) • เขาได้คำนวณหาค่า q/m ได้ • โดยวิธีเดียวกับกรณีของ mass spectrometer http://iesfelanitx.org/departaments/fisica-quimica/retrats/THOMSON.JPG

  37. References • พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. • http://www.physics.sjsu.edu/becker/physics51/mag_field.htm

  38. Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science St. Louis College Chachoengsao

More Related