html5-img
1 / 24

Working Paper

Working Paper. Lectured by Dr. Siriluck Sutthachai Accounting Department Faculty of Management Science Khon Kaen University Khon Kaen, Thailand. Working Paper. หน้าที่ของกระดาษทำการ เนื้อหาและรูปแบบในกระดาษทำการ เทคนิคการเตรียมกระดาษทำการ ขั้นตอนการสอบทานกระดาษทำการ

judah
Télécharger la présentation

Working Paper

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Working Paper Lectured by Dr. Siriluck Sutthachai Accounting Department Faculty of Management Science Khon Kaen University Khon Kaen, Thailand

  2. Working Paper • หน้าที่ของกระดาษทำการ • เนื้อหาและรูปแบบในกระดาษทำการ • เทคนิคการเตรียมกระดาษทำการ • ขั้นตอนการสอบทานกระดาษทำการ • สิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการ

  3. Working Paper • 2300 Performing the engagement Internal auditors should identify, analyse, evaluate and record sufficient information to achieve the engagement’s objectives. • 2330 Recording information Internal auditors should record relevant information to support the conclusion and engagement results

  4. หน้าที่ของกระดาษทำการหน้าที่ของกระดาษทำการ • เพื่อเป็นหลักฐานสนับสนุนข้อมูลในรายงานการตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายใน • เพื่อช่วยในการวางแผนการปฏิบัติงานและการสอบทานงานตรวจสอบภายใน • เพื่อเป็นเอกสารประเมินว่า การตรวจสอบได้บรรลุวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายในหรือไม่ • เพื่อช่วยในการทำงานของบุคคลหรือองค์กรอิสระ เช่น ผู้สอบบัญชี ที่มาตรวจสอบกิจการ หรือตรวจสอบการทำงานของผู้ตรวจสอบภายใน

  5. หน้าที่ของกระดาษทำการหน้าที่ของกระดาษทำการ • เพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณภาพการทำงานของผู้ตรวจสอบภายใน • เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบในกรณีเฉพาะอื่นๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การ claim ประกันต่างๆ การทุจริตที่มีเกิดขึ้นในกิจการ การฟ้องร้อง • เพื่อใช้เป็นเอกสารในการพัฒนาบุคคลากรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน • เพื่อเป็นหลักฐานการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในที่ได้ทำตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน

  6. หน้าที่ของกระดาษทำการหน้าที่ของกระดาษทำการ • เพื่อช่วยลดความขัดแย้งระหว่างผู้ตรวจสอบภายในกับผู้รับการตรวจสอบภายใน • เพื่อควบคุมดูแลการทำงานของผู้ตรวจสอบภายในโดยหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน • เพื่อประสานการทำงานระหว่างทีมผู้ตรวจสอบภายใน • เพื่อเป็นเอกสารประกอบการประเมินการควบคุมภายในของผู้สอบบัญชีภายนอก • ช่วยในการออกแบบการตรวจสอบภายในครั้งต่อๆ ไป

  7. เนื้อหาในกระดาษทำการ • SIAS 6: The organization, design, and contents of working paper will depend on the nature of the audit. • Planning • The examination and evaluation of the adequacy and effectiveness of the system of internal control. • The audit procedures performed, the information obtained, and the conclusions reached.

  8. เนื้อหาในกระดาษทำการ • ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรบันทึกในกระดาษทำการ • ข้อมูลการสอบทานกระดาษทำการ • ข้อมูลการรายงานการตรวจสอบภายใน • ข้อมูลการติดตามผลจากการตรวจสอบภายใน

  9. เนื้อหาในกระดาษทำการ • รูปแบบของกระดาษทำการ • กระดาษ • เทป • แผ่นบันทึกข้อมูล • ฟิล์ม • รูปภาพ • สื่ออื่นๆ ที่สามารถเก็บข้อมูลได้

  10. เนื้อหาในกระดาษทำการ • กรณีที่มีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบสื่ออื่นๆ นอกเหนือจากกระดาษควรที่จะมีการสำรองข้อมูลไว้ • กรณีที่เป็นข้อมูลทางการเงินและต้องการทำการกระทบยอด ควรที่จะทำการกระทบยอดด้วย

  11. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบภายในควรมีการกำหนดนโยบายในเรื่องต่อไปนี้ • ชนิดของแฟ้มงานตรวจสอบ • เครื่องเขียนแบบพิมพ์ • วิธีการอ้างอิงเอกสารและแฟ้มงานต่างๆ • กระดาษทำการในบางเรื่องสามารถทำให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อการทำงานเป็นแนวทางเดียวกัน

  12. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • กระดาษทำการควรมี • หัวข้อ • ผู้จัดทำ/วันที่ทำ • ดัชนีและเลขที่อ้างอิงต่างๆ • สัญลักษณ์ที่ทีการตรวจสอบ และความหมาย • แหล่งข้อมูลที่ได้

  13. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • การจัดทำกระดาษทำการควรมีความสม่ำเสมอเพื่อให้การสอบทานเป็นไปโดยง่าย • กระดาษทำการควรมีการจัดเรียงและนำเสนออย่างเป็นลำดับและอยู่ในรูปแบบเดียวกัน • ในกระดาษทำการควรมีการสรุปเนื้อหาที่สำคัญต่างๆ ตามลำดับการตรวจสอบ เพื่อให้ผู้สอบทานสามารถสอบทานได้รวดเร็ว

  14. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • ในกระดาษทำการควรมีการสรุปข้อมูลสถิติต่างๆ • มีการพูดคุยกับผู้รับการตรวจสอบทันทีที่มีการสรุปการตรวจสอบภายใน • ข้อสรุปจากการตรวจสอบอาจจะทำในแบบบันทึกโปรแกรมการตรวจสอบ • จัดทำข้อสรุปข้อผิดพลาดและเรื่องที่สำคัญที่ตรวจสอบพบ

  15. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • ดัชนีที่ใช้ในกระดาษทำการควรจะใช้ง่ายและเป็นระบบเพื่อให้ • สอบทานได้ง่าย • ใช้ในการตรวจสอบภายในครั้งต่อไปได้ • ง่ายต่อการหาข้อมูล • ง่ายต่อการเตรียมรายงานการตรวจสอบภายใน

  16. เทคนิคการจัดทำกระดาษทำการเทคนิคการจัดทำกระดาษทำการ • เนื้อหาและรูปแบบกระดาษทำการจะขึ้นอยู่กับ • ขอบเขตการตรวจสอบ • รูปแบบการรายงานของบริษัท • กิจกรรมที่รับการตรวจสอบ • ลักษณะของการควบคุมภายในและรายการค้าที่เกิดขึ้น • ความต้องการของผู้สอบบัญชีและผู้สอบทานงาน

  17. การสอบทานกระดาษทำการ • SIAS 6, SIAS 11 Describe supervisory review a working paper as follows: Working paper should be reviewed to ensure that they properly support the audit report and that all necessary auditing procedures have been performed. Evidence of supervisory review should be documented in the working paper. The director of IA has overall responsibility for review but may designate appropriately experienced members.

  18. การสอบทานกระดาษทำการ • ผู้สอบทานควรที่จะ • ลงวันที่สอบทานและผู้สอบทาน • ระบุวิธีการสอบทานและบันทึกสรุปขอบเขตการสอบทานและผลการสอบทาน • บันทึกคำถามที่เกิดจากการสอบทานและถามคำถามกับผู้ตรวจสอบภายในที่รับผิดชอบ

  19. การสอบทานกระดาษทำการ • หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในต้องแน่ใจว่า กระดาษทำการของผู้ตรวจสอบภายในได้รับการสอบทานโดยบุคคลที่เหมาะสม • การสอบทานจะต้องทำทันทีที่กระดาษทำการได้จัดทำเสร็จ

  20. การสอบทานกระดาษทำการ • ผู้สอบทานควรทำการพิจารณาว่า • ผู้ตรวจสอบภายในได้ทำตามแผนการตรวจสอบที่วางไว้หรือไม่ • ผู้ตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติตามคำแนะนำ • กระดาษทำการแสดงให้เห็นการทำงานของผู้ตรวจสอบภายใน • ข้อสรุปที่ได้สอดคล้องกับหลักฐานที่ตรวจพบ • ผู้ตรวจสอบภายในทำงานตามขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ • ผู้รับการตรวจสอบได้รับแจ้งเรื่องผลการตรวจสอบ • ผู้ตรวจสอบจัดทำกระดาษทำการตามแนวทางที่หน่วยงานได้วางไว้

  21. สิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการสิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการ • กระดาษทำการที่จัดทำเป็นสมบัติของบริษัท • บริษัทควรมีนโยบายเกี่ยวกับการดูแลและเก็บรักษากระดาษทำการโดย • หน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นผู้รับผิดชอบดูแล • กำหนดผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลในกระดาษทำการ • หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน • ผู้สอบบัญชี • องค์กรภายนอก

  22. สิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการสิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการ • หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในกำหนดเงื่อนไขและขั้นตอนการปฏิบัติสำหรับผู้ต้องการใช้กระดาษทำการ • กระดาษทำการจะต้องมีการดูแลอย่างดีในช่วง • ระหว่างการทำงานตรวจสอบภายใน • มีการเก็บในที่ที่เหมาะสมในหน่วยงานตรวจสอบภายใน • การสอบทานกระดาษทำการโดยบุคคลภายนอกควรทำภายในหน่วยงานตรวจสอบภายใน

  23. สิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการสิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการ • กรณีที่กระดาษทำการอยู่ในรูปแบบอิเลคทรอนิคส์ • มีกระบวนการในการเข้าถึงข้อมูล • มีการเก็บข้อมูลสำรอง • การเก็บรักษาระยะยาวควรมีการจัดทำเอกสารอ้างอิง • แสดงข้อมูลในกระดาษทำการให้บุคคลที่เหมาะสมพิจารณาเท่านั้น

  24. สิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการสิทธิการเป็นเจ้าของและการเก็บรักษากระดาษทำการ • การเก็บรักษากระดาษทำการควรมีวิธีปฏิบัติในเรื่อง • การทำลายกระดาษทำการ • วิธีการเก็บรักษากระดาษทำการ • การเก็บรักษาบันทึกการสอบทานของผู้สอบทาน

More Related