1 / 14

TPC NETWORK

Télécharger la présentation

TPC NETWORK

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT) โดยโยธินมานะบุญรบ., บธ.ม. (การจัดการ) กรรมการผู้จัดการ/ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากลยุทธ์ บริษัท TPC NETWORK จำกัด ที่ปรึกษา /วิทยากรที่ปรึกษา บริษัท SMEs DEVELOPMENT AND CONSULTANT จำกัด ที่ปรึกษาธุรกิจ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)E-mail: yothinma@yahoo.com โทร: 06-6074546 02-9756175 โทรสาร: 02-5984711 TPC NETWORK

  2. ความเสี่ยง (RISK)หมายถึง สิ่งต่างๆที่สามารถก่อให้เกิดปัญหา/อุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้เป้าประสงค์เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่พึงประสงค์จนกระทั่งไม่สามารถบรรลุได้ ไม่มีความแน่นอน และอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา นิยามตาม AS / NZS 4360 Standard “ โอกาสของบางสิ่ง หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โดยวัดจาก ผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิด ” TPC NETWORK

  3. ประเภทของความเสี่ยง1. ทางการเงิน (FINANCIAL RISK) 2. ทางการปฏิบัติงาน (OPERATION RISK) หมายรวมถึงตัวบุคลากร 3. ทางนโยบาย/กลยุทธ์ (POLICY/STRATEGIC RISK) 4. ทางกฎระเบียบ (REGULATORY RISK) 5. ทางเศรษฐกิจ/การเมือง (ECONOMIC/POLITICAL RISK) 6. ทางธรรมชาติ (NATURAL EVENTS) TPC NETWORK

  4. การบริหารความเสี่ยง: รับมือการเปลี่ยนแปลง การบริหารความเสี่ยง(Risk Management)เป็นการจัดการกับผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์การ รวมถึงการวางระบบ/ กลยุทธ์ในการรับมือกับความเสี่ยง หรือผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทุกรูปแบบอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล TPC NETWORK

  5. ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง • การกำหนดเป้าประสงค์ (Objectives Establishment) • การกำหนด/ระบุความเสี่ยง (Risk Identification) • การจัดระดับความเสี่ยง (Risk Score) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • การประเมินผลกระทบ (Impact Assessment) • การประเมินมาตรการควบควบคุม (Control Assessment) • การวางแผนการบริหารความเสี่ยง • (Risk Management Planning) • 5. การติดตามตรวจสอบและติดตามประเมินผล (Monitoring&Evaluation) TPC NETWORK

  6. การจัดระดับความเสี่ยงการจัดระดับความเสี่ยง TPC NETWORK A โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้น ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นขององค์กร มองเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียง ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และ อาจจะเกิดขึ้นบ่อยๆ B โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้น ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นขององค์กร มองเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียง แต่อาจเกิดไม่บ่อย รุนแรง/ เสียหาย มาก C โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่รุนแรงในระยะต้น แต่ส่งผลในทางลบหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ในอนาคต และอาจเกิดขึ้นบ่อย D โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่ชัดเจน แต่ส่งผลในทางลบหรือ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาในอนาคต และอาจเกิดไม่บ่อย รุนแรง/ เสียหาย น้อย โอกาสที่จะเกิดขึ้นสูง (1) โอกาสที่จะเกิดขึ้นต่ำ (2)

  7. TPC NETWORK การประเมินความเสี่ยง ความรุนแรงของผลกระทบ (Consequence ) และ การประเมินความเป็นไปได้ของโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) ในรูปของความถี่(Frequency) สมดุล (BALANCE) ระดับความเข้มข้นของการควบคุม/การตรวจสอบ (Internal Control)

  8. ความเสี่ยงจาก การดำเนินงาน มาตรการ ควบคุม มาตรการ ควบคุม มาตรการควบคุม ที่มีประสิทธิผล การจัดทำแผนการบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง คงเหลือ แผนการ บริหาร ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ TPC NETWORK

  9. การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงโดยการคำนวณค่าความเสี่ยงคงเหลือความเสี่ยงคงเหลือ = ระดับความเสี่ยง – ระดับการควบคุม - ระบุกลยุทธ์/วิธีการ มาตรการที่เป็นทางเลือกในการลดหรือกำจัดความเสี่ยง พร้อมกับการศึกษาความเป็นไปได้- เลือกวิธีการที่ดีที่สุด กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา เพื่อกำหนด แผนปฏิบัติการ (Action Plan) TPC NETWORK

  10. การวางแผนบริหารความเสี่ยงการวางแผนบริหารความเสี่ยง 1.Take/Acceptance การยอมรับความเสี่ยง - ไม่ต้องดำเนินการอะไรทั้งสิ้น 2.Treat/Control การลด/ควบคุมความเสี่ยง - ปรับปรุงแก้ไขกระบวนงาน - จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับ 3.Terminate/Avoid การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง - จ้างเอกชนที่เชี่ยวชาญมาทำแทน 4.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง - เปลี่ยนเป้าประสงค์ - หยุดการดำเนินกิจกรรม – การบูรณาการ 5. Exploitการใช้ประโยชน์จากความเสี่ยง - กำหนดกลยุทธ์ใหม่ TPC NETWORK

  11. การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง มาตรการควบคุมความเสี่ยง การวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงด้านการบริหาร 1. แผนกลยุทธ์ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และ/หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร 2. การดำเนินงานของหน่วยงาน ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และ/หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร 3. แผนปฏิบัติการไม่ชัดเจน • การกระจายแผนกลยุทธ์ • ไปสู่แผนปฏิบัติไม่ครบถ้วน • ไม่มีการกำกับ ติดตาม • และประเมินผลการปฏิบัติงาน • การมอบหมายงานไม่ตรง • กับหน่วยงานที่รับผิดชอบ • แผนกลยุทธ์ไม่สามารถนำไปใช้ได้ • ในทางปฏิบัติ • เนื่องจากการวางแผนยากเกินจริง • จัดทำแผนกลยุทธ์ขึ้นมาใหม่ • ตามแนวทาง BSC • หรือศึกษาเทียบเคียง • (Performance Benchmarking) • ระดับสากล • ติดตามและประเมินผล เพื่อปรับปรุงแผนปีละครั้ง • ปรับปรุงJob Description, • Job Assignment Sheet • และ พิจารณาความดี ความชอบ • โดยผูกกับผลงานตาม KPI ที่ระบุไว้ในแผน TPC NETWORK

  12. ระหว่างประเทศ หน่วยงานที่ควบคุม การเมือง และ กฎหมาย นักบริหาร และองค์การ รัฐบาล/กระทรวง/ทบวง/กรม ต้นสังกัด ลูกค้า/ผู้รับบริการ เทคโนโลยี คู่แข่งขัน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อองค์การ TPC NETWORK

  13. ประเด็นพิจารณาการบริหารความเสี่ยงของภาครัฐประเด็นพิจารณาการบริหารความเสี่ยงของภาครัฐ • ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือเอกชน จะต้องให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงด้วยกันทั้งสิ้น • หากเกิดความเสี่ยงในการจัดการภาครัฐ จะมีผลกระทบในวงกว้างมากกว่าการจัดการภาคเอกชน • การตัดสินใจ(Decision making) ของภาครัฐต้องใช้ความระมัดระวังและรอบคอบอย่างมาก • ความเสี่ยงของภาครัฐอยู่ที่การใช้งบประมาณ เพื่อให้ได้ประโยชน์คุ้มค่ากับสาธารณะ(Cost-effective) รวมถึงการตรวจสอบการใช้งบประมาณ • ความเสี่ยงเรื่องข้อมูลข่าวสาร หรือความลับทางราชการที่อาจจะมีผลกระทบต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) • ความเสี่ยงต่อข้อจำกัด/การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง(Political constraints)และการปรับเปลี่ยน/ยกเลิกนโยบายสาธารณะ(Public policy) ฯลฯ TPC NETWORK

  14. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี: หนทางการขจัดความเสี่ยง  หลักนิติธรรม(Rule of law) หลักความรับผิดชอบ(Responsiveness) หลักความโปร่งใส(Transparency) หลักการตรวจสอบได้(Accountability) หลักความคุ้มค่า ประสิทธิภาพและประสิทธิผล(Effectiveness and Efficiency) หลักการมีส่วนร่วม(Participation) หลักความทั่วถึงและเท่าเทียมกัน(Equity and Equality) หลักการเห็นพ้องร่วมกัน / สมานฉันท์(Consensus) TPC NETWORK

More Related