1 / 36

โครงการทบทวนและจัดทำแผน ยุทธ ศ าสตร์ ประจำปี 2557

โครงการทบทวนและจัดทำแผน ยุทธ ศ าสตร์ ประจำปี 2557 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. วันที่ 10 มีนาคม 2557. กำหนดการ 09:00 RE- VISION 09:30 สรุปประเด็นจากการสัมมนาครั้งที่ 1 สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร 12 ท่าน นำเสนอประเด็นยุทธศาสตร์

maren
Télécharger la présentation

โครงการทบทวนและจัดทำแผน ยุทธ ศ าสตร์ ประจำปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2557 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วันที่ 10 มีนาคม 2557

  2. กำหนดการ 09:00 RE- VISION 09:30 สรุปประเด็นจากการสัมมนาครั้งที่ 1 สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร 12 ท่าน นำเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ 10:30 พัก รับประทานอาหารว่าง 10:45 ประเมิน SWOT จาก Value Chain & POSTEL ของ สผ. 12:00 พักรับประทานอาหาร 13:00 ค้นหากลยุทธ์ที่ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ 14:30 พัก รับประทานอาหารว่าง 14:45 นำเสนอภาพรวม VISION ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ 15:45 การบ้านในครั้งต่อไป 16:00 จบการสัมมนา

  3. Re-VISION

  4. กลุ่มที่ 1 สผ.เป็นผู้นำอาเซียนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน กลุ่มที่ 2 สผ.เป็นผู้กำหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มที่ 3 เป็นผู้กำหนดนโยบายและแผนบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศและเป็นต้นแบบของภูมิภาคอาเซียน กลุ่มที่ 4 เป็น Idol ของภูมิภาคอาเซียนในการกำหนดทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มที่ 5 สร้างสรรค์ ผลักดัน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ทั้งระดับประเทศและสากล กลุ่มที่ 6 เป็นผู้นำในการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบายและแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติที่ได้รับความเชื่อมั่นจากทุกภาคส่วน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  5. Vision : เป็นหน่วยงานที่สามารถส่งมอบนโยบายและแผนจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่ แม่นตรง ทันการเปลี่ยนแปลงของบริบทประเทศและโลก นำไปปฏิบัติได้จริง มีประสิทธิผลอย่างยั่งยืน Vision : เป็นหน่วยงานที่ส่งมอบนโยบายและแผนจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่นำไปปฏิบัติได้จริงและมีประสิทธิผลอย่างยั่งยืน

  6. Driver : Leadership Change Culture Valve Interview with the Executives

  7. Driver : Leadership Change Culture Valve ONEP ‘s System Country context S E L E Government’s Policy National Economic & Social Development Law and Regulation Committee Direct/Control Information Result of Research . . . Production process Policy Plan Rule Operator Results Internal- External Service Promotion/ Support Budget/ Resources Assessment/ Evaluation Evaluation & Feed back World Context S E L E

  8. Driver : Leadership Change Culture Valve Framework of ONEP World Context S E L E Country context S E L E Government’s Policy National Development plan Law and Regulation Target Service Set Policy Plan Rule Accuracy Promotion Support Assessment Evaluation Practical Mission of 10 Efficiency, Effectiveness Environment Resources Usage |Maintain |Recover Protect | Recover Integration, Conformance Deployment | Communication | Drive | Assessment | Evaluation Stakeholder สผ. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ ภาครัฐ องค์กรอิสระ ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน Effectiveness of Recourses use Plentiful of Resource Good ENV. Quality of Life Target Competitive Advantage & Sustainability of Country

  9. Driver : Leadership Change Culture Valve Management interview conclusion issues MIS HRD HRM Reputation Internal Process Strategic Issue Competency Expertise Successor Career path Scope Information Inf. Base IT System Research Production Process Deployment Communication Drive Evaluation Feed back review Trust & Respect Alliance & Network CRM, Public relation Branding

  10. ONEP ‘s Value Chain

  11. Primary Activities Support Activities Your Company Value Chain

  12. SWOT Matrix • จุดแข็ง ( Strengths) • บุคลากรที่มี่ความรู้พร้อมเปลี่ยนแปลง • มีภาพลักษณ์ที่ดี • มีเครื่องมือในการประกอบภารกิจ • จุดอ่อน (Weaknesses) • ระบบการทำงานซับซ้อน ยุ่งยาก • การทำงานที่ยังไม่เป็นทีม • ขาดทรัพยากรบุคคลและงบประมาณ • ฐานข้อมูล และการประชาสัมพันธ์ • โอกาส (Opportunities) • การมีส่วนร่วมของประชาชน/ชุมชน • ความตื่นตัวของสาธารณชน • นโยบาย เครือข่าย กฏหมายที่สนับสนุน • ภัยคุกคาม (Threats) • บทลงโทษเมื่อทำผิดกฏหมาย • ความร่วมมือจากนอกสำนักฯ • จิตสำนึกของเยาวชน/ประชาชน • โอกาส (Opportunities)

  13. From SWOT to So What?(TOWS) เน้นที่ SO เพื่อป้องกัน WT

  14. So What? Matrix*(TOWS) • SO : uses its strengths to take advantage of opportunities (Offensive strategy: กลยุทธ์เชิงรุก) • ST : uses it’s strengths to fight threats (Defensive strategy: กลยุทธ์เชิงรับ) • WO : takes advantage of opportunities by overcoming weaknesses (Resources development strategy: กลยุทธ์เชิงพัฒนา) • WT : creats actions to minimize damages and find a way out (Out of box strategy: กลยุทธ์การหาทางออกที่เหมาะสม) * คำศัพท์ลิขสิทธิ์ของ วาทิต ตมะวิโมกษ์

  15. Core Function

  16. ONEP ‘s กระบวนการศึกษา • ข้อมูลพื้นฐานกระจายไม่เป็นระบบ ไม่เชื่อมโยง • ข้อมูลขาดความน่าเชื่อถือ • ขาดการบูรณาการและมีความซ้ำซ้อน ภายใน • ไม่มี Career Path • ไม่ได้ทำการศึกษาวิจัยเอง ต้องจ้างที่ปรึกษา • ไม่ได้ประเมินผลการศึกษา • การศึกษาไม่ครอบคลุมทุกประเด็นโดยเฉพาะเรื่องความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ • ขาดการจัดลำดับความสำคัญ • ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณที่พอเพียง • ที่ปรึกษาไม่มีคุณภาพ • Software ไม่ทันสมัย • ขาดการทำงานเป็นทีม • ผู้บริหารเปลี่ยนบ่อย • บุคลากรมีศักยภาพในด้านการจัดทำนโยบายและแผน • งบประมาณได้รับการจัดสรรอย่างเพียงพอ • มีกฎหมายและระเบียบรองรับการทำงาน • มีคณะกรรมการให้ความเห็นและกำกับศึกษา มีผู้ทรงคุณวุฒิคอยให้คำแนะนำ • มีการอบรมให้บุคลากร • มี Network ให้ข้อมูล • บุคลากรจบด้าน สวล. โดยตรง • มีคณะกรรมการจากหน่วยงานอื่น • มีคู่มือการปฏิบัติงาน • การกำหนดเนื้อหาที่ชัดเจน

  17. ONEP ‘s กระบวนการศึกษา W ใช้กระบวนการว่าจ้างที่ปรึกษามากเกินไป ทำให้ขาดประสบการณ์จริง ขาดการบูรณาการของข้อมูลและไม่มีการจัดระบบฐานข้อมูล ไม่มีมาตรฐานของกระบวนการศึกษา ระบบ IT ไม่เอื้อต่อการนำข้อมูลมาศึกษา

  18. ONEP ‘s กระบวนการจัดทำ • ไม่ได้ทำเอง (จ้าง) ทำให้ขาดการเรียนรู้ • นโยบายผู้บริหารไม่แน่นอน ผู้บริหารเปลี่ยนบ่อย • คุณภาพของข้อมูลไม่ชัดเจน • ความล่าช้าในกระบวนการพิจารณา • ความล่าช้าในการบริหารโครงการ • มีคณะกรรมการหลายคณะ ทำให้ไม่กล้าตัดสินใจ • การขยายขอบเขตการดำเนินงานเกินกว่าที่กำหนด • มีงบน้อย ตัวเลือกที่ปรึกษาน้อยลง • การสังเคราะห์ข้อมูล ประเด็น ไม่ครบถ้วน • Steakholdersไม่ใช่ตัวแทนที่แท้จริง • บุคลากรขาดความเชี่ยวชาญใน สหวิทยาการ • หน่วยงานที่มาให้ความเห็นยังไม่ครอบคลุม • การมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น ยังมีน้อย • มีคณะกรรมการให้ความเห็นและข้อเสนอแนะด้านวิชาการ • เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำ • มีผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลายวิชาชีพ • บุคลากรมีความรู้ความสามารถ

  19. ONEP ‘s กระบวนการสื่อสารและประสานงาน • ขาดความเข้าใจของเรื่องที่สื่อสาร • สผ.ไม่เป้นที่รู้จักทำให้ขาดการเชื่อถือข้อมูล • ขาดการประสานความร่วมมือ • ขาดการดำเนินการตามภารกิจ • ไม่มีหน่วยงานกลางในการประสานข้อมูล • ขาดการประชาสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องชัดเจน • ขาดงบประมาณในการประชาสัมพันธ์ • ข้อมูลไม่ทันสมัย • ข้อมูลเข้าถึงยาก • ระบบเก็บข้อมูลไม่สมบูรณ์ • สื่อสารไม่ทั่วทุกระดับ • การสื่อสารไม่เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย • หน่วยงานที่แปลงแผนสู่การปฏิบัติไม่สามารถสื่อสารได้ตรงประเด็น • การสื่อสารภายในมีน้อย • การสื่อสารไม่ต่อเนื่อง • ใช้งบไม่ตรงวัตถุประสงค์การสื่อสาร • ระบบการเข้าถึงข้อมูลยาก • มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง • มีการจัดประชุมบ่อย • มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย • มีคู่มือ • มีช่องทางที่หลากหลายในการเข้าถึงข้อมูล • มีเครื่องมือสนับสนุน • มีเงินกองทุนสนับสนุน • บุคลากรมีจิตสาธารณะในการให้บริการ

  20. ONEP ‘s กระบวนการการติดตาม ประเมิน • การติดตามไม่ครบทุกประเด็น ไม่ต่อเนื่อง • ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ไม่สามารถวัดได้จริง • ขาดระบบข้อมูลการติดตาม • ขาดงบประมาณในการติดตาม • บุคลากรไม่เพียงพอ • กระบวนการติดตามประเมินผลไม่ชัดเจน • ให้ความสำคัญกับการติดตามน้อย • ขาดเครื่องมือและข้อมูลในการติดตาม • การติดตามไม่มีกฎหมายบังคับ • การติดตามซ้ำซ้อน • เครื่องมือไม่ทันสมัย • เกิดการซ้ำซ้อนไม่เป็นระบบ • ขาดคู่มือในการติดตามประเมินผลให้หน่วยที่นำไปปฏิบัติ • ไม่ได้ติดตามประเมินผลในทุกแผน • มีการติดตามระหว่างแผนและเมื่อสรุปแผน • นำผลจากการติดตาม ประเมิน มาปรับปรุงงาน • มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง • มีแรงจูงใจ EIA Award • มีระบบสารสนเทศในการติดตามข้อมูล

  21. ONEP ‘s กระบวนการการติดตาม ประเมิน • การขาดการใช้ทฤษฏีในการประเมินผล • ไม่มีการพัฒนาระบบการติดตาม • ไม่มีฐานข้อมูล • ไม่มีการระบุตัวชี้วัดที่สำคัญ • ไม่มีการนำผลการติดตามมาปรับปรุง • ไม่มีเครื่องมือ กลไก ในการติดตาม • มีการติดตามระหว่างแผนและเมื่อสรุปแผน • นำผลจากการติดตาม ประเมิน มาปรับปรุงงาน • มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง • มีแรงจูงใจ EIA Award • มีระบบสารสนเทศในการติดตามข้อมูล

  22. Supporting Function

  23. ONEP ‘s กระบวนการบริหารบุคคลกับ กพร. • การขาดดูแลสิทธิประโยชน์ของบุคลากร • ผู้บริหารและบุคลากรในสายงานเปลี่ยนแปลงบ่อย • Career path ไม่ชัดเจน • ไม่มี Successions plan • ผุ้บริหารไม่ให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบบริหาร • ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการบริหารงานบุคคลน้อย • งาน IT ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • ไม่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น • การพัฒนาระบบไม่ต่อเนื่อง • ไม่มีการถ่ายทอดแผนพัฒนาบุคลากรสู่บุคลากร • ไม่มีการสื่อสารภายในเรื่องบุคลากร • ขาดระบบบริหารทรัพยากรบุคคล • มีคนรุ่นใหม่รอรับการเปลี่ยนแปลง • ผู้บริหารให้การสนับสนุน • บุคลากรมีความรู้ที่หลากหลาย • ผู้บริหารให้การสนับสนุนในการพัฒนา ฝึกอบรม • บุคลากรเต็มใจให้บริการ • เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ออกความเห็น • Hippมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน • มีหลักสูตรอบรม สัมมนามาก

  24. ONEP ‘s กระบวนการบริหารบุคคลกับ กพร. • ไม่ได้นำแผนที่มีมาปฏิบัติ • ขาดการบูรณาการภายใน • การปรับปรุงโครงสร้างไม่ต่อเนื่องและไม่มีประสิทธิผล • ขาดความรู้ ความแม่นยำ ด้านกฎหมาย • ภารกิจมีมาก ขาดโอกาสในการพัฒนา • ขาดฐานข้อมูลและการพัมนาระบบ • ขาดความชัดเจนในการแต่งตั้ง โยกย้าย • ขาดการสื่อสารในองค์กรเรื่องการบริหารงานบุคคล • อัตรกำลังไม่เพียงพอต่องานที่เพิ่มขึ้น • จัดคนไม่เหมาะกับงาน • ขาดงบประมาณในการพัฒนา

  25. ONEP ‘s IT • ไม่มีข้อมูลที่นำมาใช้ได้ • ระบบขาดเสถียรภาพ • ข้อมูลไม่ทันสมัย เข้าถึงยาก • อุปกรณ์ไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย • ขาดแผนการจัดการอุปกรณ์อย่างเป็นระบบ • ข้อมูลเชื่อมโยง • ไม่มีโปรแกรมที่ทันสมัยต่อการใช้งาน • การซ่อมบำรุงระบบขาดประสิทธภาพ • ไม่มีระบบการจัดการข้อมูล • บุคลากรที่รับผิดชอบไม่ตรงตามสายงาน • งบประมาณมีจำกัด • ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นระบบ • ไม่มีฐานข้อมูลกลาง • รูปแบบ website ไม่น่าสนใจ • ไม่มีการกำหนดมาตรฐานโปรแกรม • มีคณะกรรมการ IT • มีบุคลากรเฉพาะด้าน IT • มีคอมพิวเตอร์สนับสนุนทุกคน • มีระบบการบำรุงรักษาเครื่องคอมฯ • มีแผนฝึกอบรมด้าน IT • เจ้าหน้าที่มีจิตบริการที่ดี • มีแผนแม่บทIT

  26. ONEP ‘s การเงินและตรวจสอบภายใน • มีกฎระเบียบที่แน่ชัด • มีรางวัลจากกรมบัญชีกลางรับรองความแข็งแกร่ง • มีคู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ • มีเจ้าหน้าทีพัสดุ ประจำทุกกอง • เจ้าหน้าที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี • มีการนำระบบสารสนเทศมาใช้งาน • มีเจ้าหน้าที่แบ่งงานชัดเจน • แบบฟอร์มเปลี่ยนบ่อยและไม่แจ้งให้ทราบ • ขาดการสื่อสารเรื่องกฎ ระเบียบ ภายใน • ขาดการสื่อสารคามือการปฏิบัติงาน • กรแบ่งโครงสร้างทางการเงินไม่ชัดเจน • ขาดการสื่อสารทำความเข้าใจในระเบียบการเงิน • ความล่าช้าในการตรวจ จัดซื้อ จัดจ้าง • บุคลากรด้านการตรวจสอบภายในมีน้อย • เจ้าหน้าที่ตอบข้อซักถามไม่ชัดเจน • กระบวนการตรวจสอบภายในไม่ได้นำมาปฏิบัติอย่างจริงจัง • ไม่แม่นในระเบียบ • มีการเลือกปฏิบัติ • การตรวจสอบภายในล่าช้า ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง • มีการจำกัดสิทธิที่พึงได้ตามกฎหมาย • ขาดความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ

  27. ONEP ‘s การเงินและตรวจสอบภายใน • ขาดการสื่อสารภายในที่ดี • ขาดคู่มือในการเบิก จ่าย เงิน • กระบวนการตรวจสอบมีมากในบางกรณี • มีรายละเอียดในหน่วยงานมาก • เจ้าหน้าที่ไม่มีความเชี่ยวชาญด้านงานพัสดุและจัดจ้าง • ฃ

  28. ONEP ‘s กฏหมาย • มีจุดยืนทางวิชาการ • มีศักยภาพนการทำงานสูง • นิติกรสามารถเข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย • นิติกรแม่นในกฎหมายที่รับผิดชอบและดูแลผลประโยชน์ สนง.และบุคลากร • ผู้บริหารมีความรู้ ความสามารถ • ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการอบรมเพิ่มพูนความรู้ • อัตรากำลังไม่เพียงพอกับปริมาณที่เพิ่มขึ้น • ขาดผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศ • ขาดการส่งต่อความรู้จากผุ้บริหารถึงบุคลากร • ขาดการจัดการความรู้ • มีการลาออก โยกย้ายบ่อย • ไม่มีฐานข้อมูลด้านกฎหมาย • ไม่มีการสื่อสารภาษากฎหมายให้เข้าใจง่าย • ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายตามภารกิจ • ขาดผู้ตัดสินใจแทนผู้บริหาร • ขาดแรงจูงใจในการทำงาน

  29. ONEP ‘s การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ขาดความต่อเนื่องในการใช้แผนกลยุทธ์ • ไม่ได้นำมาใช้ในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน • ไม่มีการสื่อสาร ถ่ายทอด • ไม่มีการประเมินผลการวางแผนกลยุทธ์ • ไม่มีการทบทวนหลังจากการวางแผนไปแล้ว • แผนงาน โครงการ ไม่ได้ถูกผลักดันตามลำดับความสำคัญ • ไม่มีการนำไปใช้ • ไม่มีการติดตาม ประเมินผล • ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญ • ไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบชัดเจน • ไม่มีการประเมินผลที่ชัดเจน • ไม่มีการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ • ผุ้บริหารไม่ได้นำมาใช้ในการทำงาน • ขาดความรู้ความเข้าใจในแผนกลยุทธ์ • ขาดข้อมูลสนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ • การมีส่วนร่วมในทุกระดับ • มีความมุ่งมั่นของบุคลากร • มีกลไกการทำงานที่ชัดเจน • มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน • มีเครื่องมือในการทำงานครบ

  30. ONEP ‘s การเมือง • โอกาส • มีการปฏิรูปด้านสิ่งแวดล้อม • นโยบายสมัยใหม่เน้นด้านสิ่งแวดล้อม • กฎหมายระหว่างประเทศทำให้มีการดำเนินงานด้าน สวล. มากขึ้น • มีการแก้ไขกฎหมาย สวล. มากขึ้น • นโยบายบางครั้งชัดเจน ทำให้การดำเนินงานสะดวกขึ้น • อุปสรรค • ไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง • ไม่ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม • นักการเมืองแสวงหา Conflict interest • นโยบายไม่ชัดเจน ไม่ต่อเนื่อง • มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารจากการเมือง • มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าดูแลสิ่งแวดล้อม • ไม่มีความรู้ด้าน สวล. • แทรกแซงการปฏิบัติงานของข้าร่าชการ

  31. ONEP ‘s Economics • โอกาส • พัฒนาด้านการดูแล สวล. มากขึ้น โดยใช้การกีดกันทางการค้า • เศรษฐกิจดี ลงทุนด้าน สวล. มากขึ้น • กระแส Green Eco. ทำให้ประเทศกำหนดนโยบายและให้ความสำคัญ สวล. มากขึ้น • เอกชนหันมาทำ CSR สวล. มากขึ้น • หลักเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการสนับสนุน ส่งผลต่อ สวล. มากขึ้น • AEC ส่งผลในการขับเคลื่อนนโยบาย • เกิดความร่วมมือ สวล. ใน AEC • อุปสรรค • เศรษฐกิจไม่ดีได้งบประมาณน้อยลง ใส่ใจ สวล.น้อย • มุ่งพัฒนาจนคำนึง สวล. น้อย • นโยบายประชานิยมส่งผลกระทบทางลบ • เพิ่มผลผลิตประเทศมากขึ้น สวล. ถูกทำลายมากขึ้น • เศรษฐกิจกระแสหักส่งผลต่อการจัดสรรทรัพยากรไม่เท่าเทียม • ความสามารถในการแข่งขันไม่ดี ลดความสำคัญ สวล. • บุคลากรขาดความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ • ขาดการบูรณาการความรู้ด้าน สวล. กับเศรษฐศาสตร์ สวล.

  32. ONEP ‘s Economics • โอกาส • อุตสาหกรรมมุ่งรักษา สวล. มากขึ้น

  33. ONEP ‘s Social • โอกาส • คนรุ่นใหม่มีจิตสำนึกด้าน สวล. ดีขึ้น • มีหลักสูตรให้เรียนมากขึ้น • มีกฎหมายรองรับ และให้โอกาสภาคประชาชนมากขึ้น • มี NGOs มากขึ้น • มีการสื่อสารข้อมูลรวดเร็วและมากขึ้น • มีการส่งเสริมให้ความรู้ด้าน สวล. • มีการร่วมมือระหว่างประเทศ • มีการรวมกลุ่มเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • อุปสรรค • ประชากรมากขึ้น พท.ธรรมชาติและ สวล. ถูกทำลายมากขึ้น • ประชาชนรู้สิทธิแต่ไม่รู้หน้าที่ สวล. • ปชช.ขาดความเข้าใจในเรื่องการรักษา สวล. • ท้องถิ่นไม่มีความรู้ในเรื่องการจัดการ สวล. • มีความแตกแยกทางความคิดในสังคม • มีการแย่งชิงทรัพยากรมากขึ้น • แรงงานต่างด้าวมากขึ้น ลายทรัพยากรมากขึ้น

  34. ONEP ‘s Technology • โอกาส • มีนวัตกรรมใหม่ๆ • มีการนำ 3R มาประยุกต์ใช้ • มีธุรกิจด้านเทคโนโลยี สวล. มากขึ้น • การส่งผ่านข้อมูลรวดเร็วมากขึ้น • การตอบสนองต่อปัญหา สวล. เร็วขึ้น • การสื่อสารรวดเร็วมากขึ้น • มีช่องทางการสื่อสารมากขึ้น • ประหยัดทรัพยากร สวล. • อุปสรรค • ขาดการศึกษาวิจัยใหม่ๆ • ขาดเทคโนโลยีเพื่อรักษา สวล. • ไม่มีนโยบายด้าน Tech. มาใช้ในงาน สวล. • นโยบายปรับไม่ทันเทคโนโลยี • ต้นทุนการบริหารจัดการสูงขึ้น • ขยะที่ทำลาย สวล. มากขึ้น • ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี • ไม่สามารถปรับตัวได้ทันตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงของโลก

  35. ONEP ‘s Environment • โอกาส • มีกระแสการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว • เกิดการร่วมมือในระหว่างประเทศ • มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความร่วมมือ ระหว่างประเทศ • ปชช.มีการตื่นตัวมากขึ้น • นานาชาติให้ความสำคัญ • อุปสรรค • ใช้เป็นประเด็นการกีดกันทางการค้า • ปัญหาสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน • บุคลากรไม่พร้อม ไม่เพียงพอ • ขาดงานวิจัยที่เพียงพอ • มีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเร็ว นโยบายตามไม่ทัน • ปัญหา สวล. มีผลต่อการพัฒนาประเทศ • ไม่มีการกำหนดนโยบาย สวล. อย่างจริงจัง • ปัญหา สวล. ระหว่างประเทศไม่มีผู้รับผิดชอบโดยตรง

  36. ONEP ‘s Legal • โอกาส • มีกฎหมายในประเทศและระหว่างประเทศมีมากขึ้น • มาศาล สวล. โดยเฉพาะ • มีมาตรฐานการผลิตสินค้าที่ทุ่งเน้น สวล. มากขึ้น • เปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน • ประชาชนมีความตื่นตัวในกฎหมาย สวล.มากขึ้น • พรบ.สวล.มีความล้าสมัย • พัฒนากฎหมาย สวล. สู่มาตรฐานสากล • มีพันธะกรณีระหว่างประเทศ ทำให้มีกรอบการดำเนินงานที่ชัดเจน • อุปสรรค • ไม่มีการปรับปรุง พรบ. สวล. • ขาดการเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมาย • นักกฎหมายด้าน สวล.มีน้อย • NGOs ขัดขวางการทำงานของรัฐ • ปชช. ขาดความรู้ด้านกฎหมาย • กฎหมายล้าสมัย • กฎหมายมีความซ้ำซ้อน • ไม่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรง • ความไม่เข้าใจในภาษากฎหมาย • นำช่องว่างกฎหมายมาหาผลประโยชน์ • บทลงโทษไม่เข้มงวด

More Related