1 / 23

แผนการดำเนินการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2552

แผนการดำเนินการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2552. คณะทำงานด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน และตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่. วัตถุประสงค์.

rue
Télécharger la présentation

แผนการดำเนินการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการดำเนินการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2552 คณะทำงานด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน และตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อประกันความมั่นใจในความปลอดภัยของการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในประชากรเป้าหมาย • เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการเฝ้าระวังอาการ ไม่พึงประสงค์ภายหลังจากการได้รับวัคซีน

  3. อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ที่พบได้ • อาการรุนแรง • Anaphylaxis พบได้ประมาณ 9 ใน 10 ล้านโด๊ส • Guillain-Barre Syndrome (GBS) พบได้ประมาณ 1 ใน 3 ล้านโด๊ส • Convulsion พบได้ประมาณ ประมาณ 1 ใน 3 ล้านโด๊ส • Paralysis พบได้ประมาณ 1 ใน 2.5 ล้านโด๊ส และ • meningitis/encephalopathy พบได้ประมาณ ประมาณ 1 ใน 3 ล้านโด๊ส • อาการที่ไม่รุนแรง • กลุ่มอาการทางตาและทางเดินหายใจ (Oculo-Respiratory Syndrome: ORS) มีอาการตาแดงร่วมกับอาการทางระบบทางเดินหายใจอย่างน้อยหนึ่งอย่าง ได้แก่ ไอ เจ็บคอ หายใจลำบาก แน่นหน้าอก หอบ และหรือ หน้าบวม พบได้ประมาณ 50 ต่อ หนึ่งล้านโด๊ส • อาการทางผิวหนัง ได้แก่ ผื่นคัน ลมพิษ บวมแดงที่ฉีด หน้าบวม รวมกันพบได้ประมาณ 70 ต่อหนึ่งล้านโด๊ส

  4. ผลการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุ พ.ศ. 2551 • ระบบการเฝ้าระวัง • ระบบรายงาน AEFI ปกติ ; ผู้ป่วยอาการปานกลาง - รุนแรง • ระบบรายงานเชิงรุก ; ผู้ป่วยอาการไม่รุนแรง • - ไปรษณียบัตรตอบรับ • - สุ่มสำรวจ 12 จังหวัด

  5. ผลตอบกลับจากไปรษณียบัตรผลตอบกลับจากไปรษณียบัตร • ได้รับไปรษณียบัตรตอบกลับ 9,812 ใบ (14%) • มีอาการหลังรับวัคซีน 3,612 ใบ (37 %) ร้อยละการตอบกลับของไปรษณียบัตรจำแนกรายจังหวัด

  6. สัดส่วนของอาการไม่พึงประสงค์หลังได้รับสัดส่วนของอาการไม่พึงประสงค์หลังได้รับ วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ที่พบจากการตอบไปรษณีย์ อาการ %

  7. การประเมินอาการไม่พึงประสงค์หลังได้รับวัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่โดยการสุ่มสำรวจในพื้นที่ 12 จังหวัด

  8. อาการไม่พึงประสงค์หลังรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ที่พบจากการสุ่มสัมภาษณ์อาการไม่พึงประสงค์หลังรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ที่พบจากการสุ่มสัมภาษณ์

  9. การรายงานผู้ป่วยในระบบรายงาน AEFI ปกติ : มีรายงาน 19 ราย • จำนวนผู้ป่วย AEFI หลัง Flu vaccine อาการไม่รุนแรง 13 ราย • บุคลากรทางการแพทย์ พบ 5 ราย พบ Anaphylaxis 1 ราย • ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 79 ปี ตำบลแม่ใจ อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา ป่วยเป็น COPD,AF,MVR รักษาที่โรงพยาบาลแม่ใจ วันที่ 6 มิถุนายน 2551 เวลา 13.30 น. มารับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ lot no. 0780304 หมดอายุ 22/01/09 ผลิตโดยบริษัท Sanofi Pasture ที่โรงพยาบาลแม่ใจ โดยมีอาการไอ เสมหะสีขาว หายใจหอบเหนื่อย เวลา 18.00 น. ผู้ป่วยเริ่มมีไข้ และมีไข้ตลอด ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ต่อมาวันที่ 9 มิถุนายน 2551 เวลา 7.30 น. ญาติไปหาพบว่าผู้ป่วยนอนหายใจรวยริน และเสียชีวิต

  10. สรุปผลการเฝ้าระวังAEFI โดยภาพรวมในปี 2551 • ปวดเมื่อย 4000 ราย อัตรา 1000 ต่อแสนโด๊ส • ไข้ต่ำ 2000 ราย อัตรา 500 ต่อแสนโด๊ส • บวมแดง 1800 ราย อัตรา 450 ต่อแสนโด๊ส • ตาแดง 300 ราย อัตรา 75 ต่อแสนโด๊ส • หายใจลำบาก 700 ราย อัตรา 175 ต่อแสนโด๊ส • Anaphylaxis 1 ราย อัตรา 0.25 ต่อแสนโด๊ส

  11. แผนการดำเนินงานปี 2552

  12. ระบบเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ระบบเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 1. ระบบปกติ : ระบบเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI) 2. ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก : 2.1 การเฝ้าระวังด้วยตนเอง (Self report) 2.2 การติดตามเยี่ยมบ้าน (Home health care visit)

  13. ระบบเฝ้าระวังปกติ : ระบบเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI) • นิยามการรายงานผู้ป่วย (AEFI) • การแจ้งและการรายงานผู้ป่วย • การสอบสวน ศึกษาได้จาก คู่มือการเฝ้าระวังและสอบสวนอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค 2551

  14. ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก : การเฝ้าระวังด้วยตนเอง (Self report) • ดำเนินการในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง โดยดำเนินการ ในพื้นที่เขตเทศบาลเมือง • จัดทำแบบตอบกลับ รายงานอาการภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ เพื่อให้ผู้ได้รับวัคซีนได้รายงานอาการไม่พึงประสงค์ทางด้านการแพทย์ที่เกิดขึ้นภายหลังการได้รับวัคซีนภายในระยะเวลา 1 เดือน • ให้ผู้ที่ได้รับวัคซีนทุกราย ส่งแบบตอบกลับไปยังสถานบริการสาธารณสุข ที่ไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ทั้งที่มีอาการหรือไม่มีอาการ • สถานบริการสาธารณสุขที่ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประมวลผลข้อมูลจากแบบตอบกลับ และส่งแบบตอบกลับนั้นมายัง สำนักระบาดวิทยา

  15. ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก : การติดตามเยี่ยมบ้าน (Home health care visit) • ดำเนินการในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง ที่เป็นจังหวัดเดียวกับที่มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง (self report) • ติดตามเยี่ยมผู้ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประมาณร้อยละ 10 ของผู้ที่ได้รับวัคซีนทั้งหมด ที่อาศัยภายในจังหวัด แต่อยู่นอกเขตเทศบาลเมืองที่มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง (self report)

  16. สำหรับการเฝ้าระวังในบุคลากรทางการแพทย์สำหรับการเฝ้าระวังในบุคลากรทางการแพทย์ • รายงานในระบบเฝ้าระวัง AEFI ปกติ • รายงาน Self report

  17. แนวทางการตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังการได้รับวัคซีนแนวทางการตอบสนองต่อกรณีเกิดอาการภายหลังการได้รับวัคซีน • การสอบสวนโดยทีมส่วนกลางในกรณีที่เสียชีวิต ส่วนในกรณีอื่นๆสอบสวนโดยทีม SRRT พื้นที่ • กรณีเสียชีวิต จะนำให้คณะผู้เชี่ยวชาญ AEFI เพื่อพิจารณาข้อสรุปสาเหตุการเสียชีวิตและให้ข้อเสนอแนะต่อคณะอำนวยการเพื่อตัดสินใจแก้ปัญหา ต่อไป • ประสานงานกรมการแพทย์เพื่อทำแนวทาง medical management guideline

  18. เพื่อเป็นการติดตามอาการของท่าน ภายหลังฉีดวัคซีนนี้แล้วขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อ-นามสกุลผู้ได้รับวัคซีน................................. อายุปีเพศชายหญิง ชื่อสถานบริการ/โรงพยาบาลที่ฉีด..................... ภายใน 1 เดือน หลังจากได้รับวัคซีน ท่านมีอาการต่อไปนี้หรือไม่ (ตอบได้มากกว่า 1 อาการ) ไม่มีมี ปวด บวม แดงร้อนบริเวณที่ฉีด c c หลังฉีด.....................วัน ฝีบริเวณที่ฉีด c c หลังฉีด.....................วัน ผื่น c c หลังฉีด.....................วัน ไข้ต่ำ c c หลังฉีด.....................วัน ไข้สูง c c หลังฉีด.....................วัน หนาวสั่น c c หลังฉีด.....................วัน ปวดเมื่อย c c หลังฉีด.....................วัน ตาแดง เจ็บคอ หน้าบวม c c หลังฉีด.....................วัน อื่น ๆระบุอาการ.............................. c c หลังฉีด.....................วัน โปรดฉีกกระดาษส่วนนี้ตามรอยพับแล้วส่งกลับไปยังโรงพยาบาลหรือสถานบริการที่ท่านไปฉีดวัคซีน ขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณากรอกข้อมูล

More Related