1 / 55

แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561

แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561. วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.  2557 โรงแรมรามาการ์เดนส์. กรอบการนำเสนอ. 1. กระบวนการจัดทำแผนแม่บท RDI. การวิเคราะห์องค์กร. 3. ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม. 4. RDI Roadmap.

shiro
Télécharger la présentation

แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561 วันจันทร์ที่ 17กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โรงแรมรามาการ์เดนส์

  2. กรอบการนำเสนอ 1. กระบวนการจัดทำแผนแม่บท RDI การวิเคราะห์องค์กร 3. ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม 4. RDI Roadmap 5. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 6. สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมการประปานครหลวง

  3. กระบวนการจัดทำแผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ กปน. แผนการดำเนินงานที่สำคัญของ กปน. ยุทธศาสตร์/แผนแม่บท บริบทการเปลี่ยนแปลงภายนอกและภายในประเทศ นโยบายรัฐบาล (Agenda) บทบาทหน้าที่ของ กปน.(Function) ประมวลและวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต(Scenario) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) • ยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2555-2559) • นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (2555-2564) • การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องของพนักงานและผู้บริหาร กปน. • จัดทำร่างแผนแม่บท RDI (พ.ศ. 2557-2561) (ฉบับร่างที่ 1) • ระดมความคิดและประชาวิจารณ์ • เสนอคณะกรรมการบริหาร กปน.พิจารณา • แผนแม่บท RDI (พ.ศ. 2557-2561)

  4. กรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ กปน. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ภารกิจ และ หน้าที่ของ กปน. แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำสูญเสีย นโยบายและแผน วทน. ฉบับที่ 1 (2555-2559) แผนการจัดการคุณภาพน้ำการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555-2559) การคาดการณ์ผลกระทบและโอกาสของ กปน. ยุทธศาสตร์การบริหาร กปน. (พ.ศ. 2555 -2559) การวิเคราะห์ภารกิจของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ การประปานครหลวง

  5. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงของโลกสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงของโลก • กฎกติกาใหม่ของโลกในการบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น การค้าและการลงทุน การเงิน สิ่งแวดล้อม • การปรับตัวเข้าสู่หลายศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ • การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ • ภาวะโลกร้อน • ปัญหาในด้านอาหารและพลังงาน • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

  6. ASEAN • ขยายตลาดและความร่วมมือภูมิภาคเพิ่มขึ้น • กฎกติกา เป็นสากลขึ้น และ การแข่งขันสูงขึ้น โดยเฉพาะภาคบริการ • เทคโนโลยี IT มีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตมากขึ้นและเพิ่มอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการสื่อสาร • การค้าและบริการเปลี่ยนแปลงสู่ธุรกิจภาคบริการรูปแบบใหม่ๆ Innovation สังคมผู้สูงอายุ • • โครงสร้างประชากรศาสตร์เปลี่ยนผู้สูงอายุเพิ่มจำนวนมากขึ้น • ความต้องการผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพ การขยายตัวของเมือง • รูปแบบการใช้ใช้ชีวิตของคนเมืองที่อยู่ในแนวตั้ง • จำนวนประชากรเพิ่มขึ้น Global warming • ผลกระทบต่อสภาพแห่งน้ำและปริมาณน้ำ • กระแส การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Green Economy

  7. ปัจจัยภายนอก การพัฒนางาน RDI ตลอดห่วงโซ่มูลค่า การเปิดเสรีการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจ และอุปสงค์ต่อสินค้าสาธารณูปโภค มีองค์กรวิจัย พัฒนา ทั้งภาครัฐและเอกชนของต่างประเทศเข้ามาดำเนินกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทยได้มากขึ้น • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย RDI • การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ • แนวทางการบริหารงาน RDI ที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม • ใช้ KM เป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์ และต่อยอดผลงาน RDI สู่การไปใช้ประโยชน์ • ใช้เครือข่ายหน่วยงานความร่วมมือเสริมสร้างขีดความสามารถ RDI กปน • ใ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรศาสตร์ รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิต ส่งผลโดยตรงต่อรูปแบบของที่พักอาศัยที่เติบโตเชิงแนวดิ่ง ในรูปแบบของอาคารสูงมากขึ้น ปัจจัยภายใน การกีดกันทางการค้าในรูปของมาตรฐานสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ทำให้ผู้ประกอบการภายในประเทศต้องใช้เวลาในการปรับตัวอันเนื่องมาจากต้นทุนการผลิตและโครงสร้างการผลิตที่ต้องใช้ต้นทุนที่สูงขึ้น มีขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน แต่ยังขาดการกำหนดทิศทางการพัฒนาด้าน RDI ในการเป็นหนึ่งในกลไกขับเคลื่อนองค์กร การพึ่งพาเทคโนโลยีและอุปกรณ์จากต่างประเทศ และการขาดการส่งเสริม/พัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลยีภายในประเทศ บทบาทของสถาบันพัฒนาวิชาการประปา ไม่ชัดเจนและยังไม่มีการบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานภายในด้าน RDI อย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. บริบทการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการดำเนินงานด้าน RDI ของกปน.

  8. การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม การประเมินโอกาส ภัยคุกคาม จุดแข็งและจุดอ่อนของ กปน.

  9. การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงรุก (SO Strategy) : เพื่อนำจุดแข็งและโอกาสมาใช้ องค์ความรู้/ ความเชี่ยวชาญองค์กร ความสัมพันธ์ที่ดีต่อ หน่วยงานภายนอก ASEAN โครงสร้างพื้นฐาน RDI เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ RDI เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการ สร้างและขยายเครือข่าย/พันธมิตรด้าน RDI RDI เพื่อให้บริการด้านการจัดการแรงดันน้ำสำหรับที่พักอาศัยที่เป็นอาคารสูง ประเด็นยุทธศาสตร์

  10. การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงแก้ไข (WO Strategy) : เพื่อปรับปรุงตนเอง เป้าหมายการพัฒนาบุคคลากรไม่ชัดเจน ขาดระบบบริหารการวิจัย/ บทบาท สพป. ไม่ชัดเจน/ ขาดระบบการบริหารการวิจัย ปัญหาน้ำสูญเสียสูง ไม่มีแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อแก้ปัญหาน้ำสูญเสีย RDI เพื่อลดการสูญเสียทรัพยากร และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พัฒนาระบบการบริหารจัดการงาน RDI พัฒนาระบบ HRด้าน RDI และเส้นทางอาชีพของนักวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์

  11. การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงป้องกัน (ST Strategy) : เพื่อกำจัดภัยคุกคาม ทัศนคติเชิงลบต่อการบริโภคน้ำประปา ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบ ต้นทุนการผลิตน้ำประปา RDI เพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย RDI เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปา RDI เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำประปา ประเด็นยุทธศาสตร์ แนวทางเชิงรับ (WT Strategy) : เพื่อลดความเสี่ยง RDI เพื่อการผลิตน้ำประปาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะที่ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบอาจมีความผันผวน ประเด็นยุทธศาสตร์

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI เพื่อลดการสูญเสียทรัพยากร และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน RDI เพื่อการผลิตน้ำประปาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะที่ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบอาจมีความผันผวน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 RDI เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปา RDI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำประปา RDI เพื่อแก้ปัญหาน้ำสูญเสีย RDI เพื่อให้บริการด้านการจัดการแรงดันน้ำสำหรับที่พักอาศัยที่เป็นอาคารสูง RDI เพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 RDI เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการ พัฒนาระบบ HRด้าน RDI และเส้นทางอาชีพของนักวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างและขยายเครือข่าย/พันธมิตรด้าน RDI พัฒนาระบบการบริหารจัดการงาน RDI RDI เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา 13

  14. ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม

  15. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม(2557-2561) วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรแนวหน้าในระดับอาเซียนด้านการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อกิจการประปา พันธกิจ: • วิจัย พัฒนา และนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่าในกิจการประปา • เพื่อสร้างความเชื่อมั่น บริหารและต่อยอดงานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์และบริการด้านการประปา ยุทธศาสตร์: การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา

  16. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยุทธศาสตร์ RDI • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ความเข็มแข็งภาคเกษตรกรความมั่นคงของอาหารและพลังงาน • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  17. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผน วช. ฉบับที่ 8 ยุทธศาสตร์ RDI • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1. การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา 2. การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 3. การอนุรักษ์ เสริมสร้าง และพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ 4.การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและบุคลากรทางการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา 5.การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ เพื่อการบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสมที่เข้าถึงประชาชนและประชาสังคมอย่างแพร่หลาย เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR

  18. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผน วทน. ฉบับที่ 1 ยุทธศาสตร์ RDI เป้าประสงค์/เป้าหมาย • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ • การขยายพื้นที่บริการให้ครอบคลุมพื้นที่ชุมชน 100% • เพิ่มขีดความสามารถด้านดารผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา การพัฒนาความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ด้วย วทน. การเพิ่มขีดความสามารถ ความยืดหยุ่น และนวัตกรรมในภาคเกษตร ผลิตและบริการด้วย วทน. การเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศด้วย วทน. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพทุนมนุษย์ของประเทศด้วย วทน เป้าประสงค์: สนับสนุน หรือ ส่งเสริม โครงการหรือกิจกรรม ด้าน วิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ที่เกี่ยวกับธุรกิจเสริม ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยเอื้อในการพัฒนา วทน. ของประเทศ

  19. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และ แผน/ยุทธศาสตร์ระดับองค์กรที่สำคัญ ยุทธศาสตร์การบริหาร กปน. ฉบับที่3 แผน/ยุทธศาสตร์อื่นๆ ที่สำคัญ แผนแม่บท RDI ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา F1: การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ F2: การสร้างรายได้ให้เติบโตอย่างยั่งยืน F3: การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน แผนจัดการคุณภาพน้ำ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร C1: ความต้องการพื้นฐาน C2 : ความคาดหวัง C3: การตอบสนองความต้องการและความ คาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล ยุทธศาสตร์ที่ 1. สร้างนวัตกรรมการบริการ ด้วย ICTเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลสารสนเทศแบบบูรณาการ เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างธรรมาภิบาลของ การประปานครหลวง P1: การผลิตและส่งน้ำด้วยมาตรฐานสูงอย่าง มั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน P2: การมุ่งเน้นลูกค้า ตลาด และการบริการที่ เป็นเลิศ P3: การบริหารจัดการกระบวนการอย่างมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับงานวิศวกรรม และการผลิตเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรฐานความรู้ แผนแม่บทการบูรณาการงานบริหารจัดการจัดการน้ำสูญเสีย L1: การยกระดับการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล L2: การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ L3: การสร้างขีดความสามารถขององค์กร • กลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการน้ำสูญเสีย • กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี • กลยุทธ์การพัฒนากระบวนงานบนฐานความรู้ระดับสากล G1: การยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ด้วย หลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อ สังคม และสิ่งแวดล้อม

  20. ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรแนวหน้าในระดับอาเซียนด้านการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อกิจการประปา • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ การให้บริการด้วยน้ำประปาที่สะอาด ทั่วถึงเพียงพอ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา พัฒนาระบบส่งน้ำให้มีมาตรฐานสูง เพื่อสร้างความยั่งยืนและมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ การยกระดับมาตรฐานการให้บริการที่เป็นเลิศโดยเพิ่มระดับความพอใจของผู้รับบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR

  21. ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : • จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา • จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น • จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 • จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMAจำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ • จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 3.1 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • จำนวนสิทธิบัตร สิ่งตีพิมพ์ ที่เพิ่มขึ้น • จำนวนโครงการต่อยอดเทคโนโลยีจากการพัฒนากระบวนการภายในที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR กลยุทธ์ที่ 3.2การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ • จำนวนช่องทางการสื่อสารการให้บริการที่เพิ่มขึ้น • จำนวนโครงการการพัฒนานวัตกรรมการบริการที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 3.3 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมสีเขียวในกิจการประปา • จำนวนโครงการนวัตกรรมสีเขียวที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่แนวทางการสร้างนวัตกรรมสีเขียว • จำนวนโครงการที่ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์ กลยุทธ์ที่ 3.4 การพัฒนาการวิจัยแบบก้าวกระโดด • จำนวนนักวิจัยใหม่ • จำนวนแนวทางเทคโนโลยี/นวัตกรรมในอนาคต • จำนวนองค์ความรู้ใหม่

  22. Technology Roadmap

  23. แนวทางการพิจารณาจัดลำดับความสำคัญแนวทางการพิจารณาจัดลำดับความสำคัญ

  24. กลยุทธ์ที่ 1 Drivers  สภาวะโลกร้อน มีผลต่อคุณภาพ และปริมาณแหล่งน้ำดิบ ความต้องการและคาดหวังของผู้ใช้น้ำด้านคุณภาพน้ำ การขยายตัวของชุมชน ปริมาณ แหล่งน้ำดิบ และเส้นทางน้ำดิบ มีผลต่อการรักษาคุณภาพแหล่งน้ำ Targets  มีปริมาณแหล่งน้ำดิบเพียงพอ มีน้ำดิบคุณภาพสม่ำเสอสามารถบริหารจัดการได้ เทคโนโลยีการวิเคราะห์ทดสอบน้ำ เทคโนโลยีเมมเบรน กลยุทธ์ที่ 1.1 การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ มีข้อมูลเพียงพอและทันกาลในการเตรียมความพร้อมด้านการผลิตเมื่อคุณภาพน้ำเปลี่ยน • เทคโนโลยีเซนเซอร์ • เทคโนโลยีเมมเบรน แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ Resources เครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดคุณภาพน้ำแบบ Real Time 2561 2557 2558 2559 2560 สื่อสารองค์กร นักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่ 1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • SMART GRID เทคโนโลยีที่ต้องการ  เทคโนโลยีเซนเซอร์ เทคโนโลยีข้อมูข่าวสาร เทคโนโลยีวัสดุ

  25. กลยุทธ์ที่ 2 Drivers  รูปแบบการดำเนินการชีวิตที่มีการใช้ ข้อมูลสื่อสารแบบไร้สายมากขึ้น กระแสการประหยัดพลังงาน Green economy การลงทุนระบบท่อสูงมาก การขึ้นค่าน้ำที่ไม่สามารถทำได้ การขยายตัวของเมือง และรูปแบบการอยู่อาศัยในแนวตั้งมากขึ้น Targets  สร้างเทคโนโลยีการลดน้ำสูญเสีย การให้บริการที่ รวดเร็ว สะดวก เหมาะกับความต้องการที่เปลี่ยนไป เทคโนโลยีมาตรวัดน้ำ เทคโนโลยีหุ่นยนต์ กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร เทคโนโลยีการจัดการแรงดัน • เทคโนโลยีมาตรวัดน้ำ แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ Resources นักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านมาตร ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ 2561 2557 2558 2559 2560 ห้องปฏิบัติการด้านอิเล็กทรอนิกส์ • เทคโนโลยีหุ่ยนต์ กลยุทธ์ที่ 2.3 การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ • SMART GRID เทคโนโลยีที่ต้องการ  เทคโนโลยีเซนเซอร์ เทคโนโลยีข้อมูข่าวสาร เทคโนโลยีวัสดุ

  26. Roadmap summary : Prioritize and selection 1.1 การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย 3.3 การพัฒนาการวิจัยแบบก้าวกระโดด 3.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมสีเขียวในกิจการประปา 1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ 3.1 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 2.3การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ Timeframe 2557 2558 2559 2560 2561

  27. สรุปผลผลิตจากแผนปฏิบัติการที่คาดว่าจะได้รับ

  28. ปัจจัยสู่ความสำเร็จการขับเคลื่อนแผนแม่บทการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (พ.ศ. 2557-2561)

  29. 1 แผนแม่บท RDI 2 การส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยจากผู้นำระดับสูง 3 โครงสร้างการบริหารงานวิจัยคล่องตัว สอดคล้องกับงานวิจัย 4 กลไกการบริหารงานวิจัย ปัจจัย สู่ ความสำเร็จ 5 การจัดสรรงบประมาณ 6 การพัฒนานักวิจัย และการสร้างแรงจูงใจ 7 การใช้เครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา และหน่วยงานวิจัย

  30. สถาบันวิจัย พัฒนา และ นวัตกรรมการประปานครหลวง

  31. คณะกรรมการบริหาร การประปานครหลวง คณะกรรมการบริหาร การประปานครหลวง ผู้ว่าการการประปานครหลวง รอง ผวก. 1 รอง ผวก. 2 รอง ผวก. 3 กรรมการบริหาร สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมประปา ผู้อำนวยการ รอง ผอ. วิจัย และพัฒนา รอง ผอ. บริหาร และนวัตกรรม กองวิจัยพัฒนานวัตกรรม กองแผนยุทธศาสตร์วิจัย กองจัดการความรู้ กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม สถาบันวิจัย พัฒนา และ นวัตกรรมการประปานครหลวง

  32. บทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน กองจัดการความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา กองแผนงานและยุทธศาสตร์วิจัย จัดทำแผนแม่บทงานวิจัย แผนอัตรา กำลังคน แผนเครื่องมือและอุปกรณ์ สร้างฐานข้อมูลความรู้, เผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม กองวิจัยและพัฒนา คัดเลือก จัดสรร ติดตามและดำเนินงานวิจัย ใช้ประโยชน์ ผลงานวิจัย ในเชิงสังคม และเชิงพาณิชย์

  33. แผนภูมิขั้นตอนการบริหารงานวิจัยแผนภูมิขั้นตอนการบริหารงานวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนา ยุทธศาสตร์ หน่วยงานวิจัยภายนอก กลยุทธ์ หน่วยงานวิจัยภายใน แผนแม่บทวิจัยฯ Innovation Knowledge database คัดเลือก ดำเนินโครงการ Research Knowledge KM KPI Pass Commercialize Transfer Tech. ประเมินผล การบ่มเพาะและการจัดการความรู้

  34. ขั้นตอนการกำหนดโจทย์วิจัยขั้นตอนการกำหนดโจทย์วิจัย วิเคราะห์/ กำหนดโจทย์วิจัย KPI องค์กร พิจารณากรอบวิจัย กำหนดรูปแบบงานวิจัย หน่วยงานวิจัยภายนอก หน่วยงานวิจัยภายใน = กองแผนงานและยุทธศาสตร์การวิจัย = กองวิจัยและพัฒนา

  35. การคัดกรองโครงการวิจัยการคัดกรองโครงการวิจัย นำเสนอโครงการวิจัยและพัฒนา ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ คัดเลือก แผนแม่บทวิจัยฯ แผนอัตรากำลังคน แผนเครื่องมือ/อุปกรณ์ = กองแผนงานและยุทธศาสตร์การวิจัย = กองวิจัยและพัฒนา = คณะผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินโครงการ และติดตามผล Research KPI NO KM PASS ประเมินผล โครงการตามตัวชี้วัด

  36. การจัดการความรู้และนวัตกรรมการจัดการความรู้และนวัตกรรม = กองวิจัยพัฒนา = กองจัดการความรู้ = กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม = คณะผู้ทรงคุณวุฒิ Knowledge database Innovation หน่วยงานปฏิบัติงานภายใน KM Knowledge Commercialize Pass หน่วยงานภายใน และต่างประเทศ ประเมินผล Transfer Tech. ผลิตภัณฑ์/เทคโนโลยี องค์ความรู้

  37. ผลผลิตของแผนแม่บท RDI จำนวน สิ่งตีพิมพ์ จำนวนสิทธิบัตร จำนวนบทความประชาสัมพันธ์ จำนวนผลงานวิจัยที่สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ จำนวนกระบวนงานในการผลิตและ การบริการที่ได้รับการพัฒนา

  38. ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ • กปน. เป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้นใน วงการวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ • ลดค่าใช้จ่ายจากการปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน • มีนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่รู้จักมากขึ้น • ผลงานสร้างการยอมรับความเชี่ยวชาญด้านการประปา มากขึ้น • เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

  39. ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ • การขยายพื้นที่บริการให้ครอบคลุมพื้นที่ชุมชน 100% • เพิ่มขีดความสามารถด้านดารผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ • ตัวชี้วัด: • จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ • ตัวชี้วัด • จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา • จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ • ตัวชี้วัด: • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • ตัวชี้วัด: • ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น • จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้

  40. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ ตัวชี้วัด: จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ โครงการ 1.1.1 โครงการพัฒนาระบบตรวจติดตาม เฝ้าระวัง และปรับปรุงคุณภาพน้ำดิบด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1.2 โครงการพัฒนานวัตกรรมการตรวจวัดคุณภาพน้ำดิบ ด้วยเทคนิคทางชีวภาพและทางกายภาพ 1.1.3 โครงการพัฒนาแหล่งน้ำดิบสำรองและศึกษาแหล่งน้ำทางเลือกรองรับผลกระทบปัญหาโลกร้อน 1.1.4 โครงการพัฒนาและสร้างความตระหนักรักษ์คุณภาพน้ำดิบให้แก่ชุมชนรอบแหล่งน้ำดิบ 1.1.5 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบบริหารจัดการเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและนิเวศน์วิทยาให้มีแหล่งน้ำดิบเพียงพอและยั่งยืน 1.1.6 โครงการศึกษาเสถียรภาพ และความมั่นคงของตลอดลำคลองส่งน้ำดิบ ของ กปน. กรณีศึกษาคลองฝั่งตะวันออก และคลองฝั่งตะวันตก 44

  41. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ โครงการ โครงการ • 1.2.1 โครงการพัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาที่สามารถรองรับน้ำดิบ คุณภาพต่าง ๆ • 1.2.2 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีทางเลือกสำหรับการผลิตน้ำประปา เช่น เทคโนโลยีเมมเบรน หรือ เทคโนโลยีโอโซน • 1.2.3 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบผลิตน้ำประปาในระบบผลิตโดยวิธีการกรองเพื่อลดต้นทุน • 1.2.4 โครงการพัฒนาระบบการผลิตน้ำประปาคุณภาพเฉพาะตามความต้องการของลูกค้า • 1.2.5 โครงการพัฒนาระบบการเติมสารเคมีประสิทธิภาพสูง 45

  42. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย ตัวชี้วัด: จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย โครงการ 1.3.1 โครงการพัฒนาระบบตรวจติดตามคุณภาพน้ำตลอดเส้นท่อในระบบสูบส่งและจ่ายน้ำ 1.3.2 โครงการพัฒนาวัสดุนาโนเคลือบผิวท่อ ลดการเกิดตะกอน สำหรับส่งน้ำ 1.3.3 โครงการพัฒนาระบบล้างกำจัดและป้องกันการเกิดตะกอนในท่อ และถังเก็บน้ำด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ 1.3.4 โครงการพัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ตรวจวัดและรักษาคุณภาพน้ำประปาดื่มได้หน้าบ้านผู้รับบริการ 1.3.5 โครงการพัฒนาวัสดุนาโนเคลือบผิวท่อ ลดการกัดกร่อน (เช่น วัสดุทางเลือก แทนท่อ AC ที่ใช้ Asbestos เป็นองค์ประกอบ) 1.3.6 โครงการวิจัยการเพิ่มประสิทธิภาพ และเสถียรภาพของระบบส่งจ่ายน้ำ 46

  43. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ตัวชี้วัด:ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้ โครงการ 1.4.1 โครงการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1.4.2 โครงการสร้างภาพลักษณ์ความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ 1.4.3 โครงการเพิ่มขีดความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1.4.4 โครงการใช้ระบบ IT สื่อสารคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ตลอดเส้นท่อจนถึงมือผู้บริโภค 47

  44. ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ • ตัวชี้วัด: • จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • ตัวชี้วัด: • จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMAจำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ • จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน

  45. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด: จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน โครงการ โครงการ 2.1.1 โครงการประยุกต์ใช้ระบบ IT เพื่อบูรณาการข้อมูลการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสียในระบบสูบส่งและจ่ายน้ำ 2.1.2 โครงการวิจัยพัฒนาวัสดุของระบบท่อต้านทานแรงดันน้ำ ลดการเกิดรอยรั่ว 2.1.3 โครงการวิจัยพัฒนาเพื่อลดระยะเวลา และปรับปรุงเทคนิคการซ่อมท่อ 2.1.4 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมการหารอยรั่วการเชื่อมและการซ่อมท่ออย่างครบวงจร 2.1.5 โครงการศึกษาปัจจัย และผลกระทบที่เกิดจากการใช้พื้นที่ที่เปลี่ยนไปในเขตเมืองต่อเสถียรภาพการจ่ายน้ำ 2.1.6 การศึกษาผลกระทบจากแผ่นดินไหว และการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินที่มีผลต่อการทรุดตัวในระบบอุโมงค์การจ่ายน้ำของ กปน. 49

  46. ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ ตัวชี้วัด: จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMA จำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน โครงการ โครงการ 2.2.1 โครงการ วิจัยและพัฒนา ระบบบริหารจัดการเพื่อเพิ่มแรงดันน้ำสูง 10 เมตร ใน DMA ต้นแบบ 2.2.2 โครงการพัฒนานวัตกรรมระบบสูบส่งแรงดันสูงในระบบจ่ายน้ำแบบประหยัดพลังงาน 2.2.3 โครงการพัฒนานวัตกรรมปรับเพิ่มลดแรงดันน้ำตามเวลาใช้น้ำใน DMA ต้นแบบ 50

More Related