1 / 10

โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี เรื่อง ขนมข้าวโปง จัดทำโดย

โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี เรื่อง ขนมข้าวโปง จัดทำโดย นายขจรศักดิ์ บัวนารถ เลขที่ 2 ชั้น ม.6/3 นาย วรุตม์ เทศ กิ่ม เลขที่ 11 ชั้น ม.6/3 นาย ศุภนันท์ ฉลูทอง เลขที่ 12 ชั้น ม.6/3 นางสาว ศุภ รัตน์ แตงโสภา เลขที่ 32 ชั้น ม.6/3 เสนอ คุณครูจงรัก เทศนา

terrel
Télécharger la présentation

โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี เรื่อง ขนมข้าวโปง จัดทำโดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานีโครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี เรื่อง ขนมข้าวโปง จัดทำโดย นายขจรศักดิ์ บัวนารถ เลขที่ 2ชั้น ม.6/3นายวรุตม์ เทศกิ่ม เลขที่ 11ชั้น ม.6/3 นายศุภนันท์ ฉลูทอง เลขที่ 12ชั้น ม.6/3 นางสาวศุภรัตน์ แตงโสภา เลขที่ 32ชั้น ม.6/3 เสนอคุณครูจงรัก เทศนา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33231โรงเรียนอุทัยวิทยาคม อำเภอ เมืองฯ จังหวัด อุทัยธานี

  2. ประวัติผู้ประกอบการ ชื่อ นางยุพาภรณ์ จวงอินทร์ (ป้ากุ๊ก) เกิดเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2514  บ้านเลขที่ : 6 หมู่ 3 ตำบลหาดทนง อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000  โทรศัพท์ : 08-6679-5968

  3. ประวัติขนม ขนมไทยนั้นเกิดขึ้นมานานแล้วตั้งแต่ประเทศไทยยังเป็นสยามประเทศได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติเช่น จีน อินเดีย มาตั้งแต่สุโขทัย โดยส่งเสริมการขายสินค้าซึ่งกันและกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกินร่วมไปด้วยต่อมาในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆอย่างกว้างขวางไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่างๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่หาได้เครื่องมือเครื่องใช้ตลอดจนการบริโภคนิสัยแบบไทยๆ จนทำให้คนรุ่นหลังๆ แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ๆ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมจากชาติอื่น ขนมไทยเป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อน ประณีตในการทำ ตั้งแต่วัตถุดิบ วิธีการทำ ที่กลมกลืน พิถีพิถัน ในเรื่องรสชาติ สีสัน ความสวยงาม

  4. วัตถุดิบ ข้าวเหนียว ถั่วป่น น้ำตาลปี๊ป เกลือป่น งาดำ

  5. วัสดุ/อุปกรณ์ 1.กระทะ 2.เตา 3.เครื่องปั่น 4.ครก 5.หม้อ 6.ตะหลิว 7.กระด้ง 8.หม้อไฟฟ้า 9.ถาด 10.หวด

  6. วิธีการทำ ขั้นตอนการทำไส้ขนม 1.นำถั่วลิสงไปคั่วแล้วนำเปลือกถั่วออก2.นำถั่วไปปั่นให้ละเอียด3.จากนั้นนำงาดำมาแช่น้ำ 2 - 3 ชั่วโมง4.นำงามาตำเอาเปลือกออก5.นำงาที่ตำเอาเปลือกออกแล้วมาคั่ว6.พอคั่วงาเสร็จแล้วจึงนำงามาบดให้ละเอียด7.นำถั่วกับงามาเทรวมกันใส่หม้อ8.แล้วนำน้ำตาลปีบมาใส่ เคล้าให้เข้ากันพร้อมใส่เกลือ9.นำแป้งที่พักไว้มาปั้นพร้อมใส่ไส้ที่เสร็จแล้วลงไป ขั้นตอนการทำแป้ง  1.แช่ข้าวเหนียว 3 - 4 ชั่วโมง2.พอแช่ข้าวเหนียวได้ที่แล้วก็เทน้ำออก3.นำข้าวเหนียวใส่หวดนึ่ง4.พอนึ่งจนสุกแล้วนำข้าวเหนียวใส่ครกแล้วตำข้าวเหนียวให้ละเอียด5.จากนั้นตักข้าวเหนียวใส่หม้อพักไว้

  7. คัดเลือกวัตถุดิบ การเลือกซื้อแป้งข้าวเหนียว ถ้าเป็นแป้งสด ควรดมดูกลิ่นต้องไม่เหม็นเปรี้ยว ข้อเสียของแป้งสด ถ้าซื้อมาต้องรีบทำถ้าทิ้งไว้จะเสียง่าย หรือ ถ้าเป็นแป้งแห้ง ควรเลือกเนื้อละเอียดไม่มีกลิ่นอับ และตัวมอด การเลือกซื้องาดำ เลือกซื้อเมล็ดงาดำและงาขาวที่สะอาด ไม่มีสิ่งสกปรกเจือปน เมื่อซึ้อมาแล้วให้เก็บใส่ขวด ปิดฝ้ามื่อจะใช้ให้คั่วในปริมาณที่พอใช้ เท่านั้น เพราะถ้าคั่วทิ้งไว้กลิ่นจะไม่หอมและเหม็นหืน การเลือกซื้อถั่วลิสง ควรเลือกซื้อถั่วลิสงที่มีลักษณะเมล็ดสมบูรณ์ ไม่ลีบ ไม่ฝ่อ ม่ถูกแมลงสัตว์กัดแทะ สีไม่คล้ำ ไม่มีราสีเขียว สีเหลือง หรือสีดำขึ้นที่เมล็ด การเลือกซื้อน้ำตาลปีบ ควรจะมีลักษณะนุ่มไม่แข็งมาก ถ้าแข็งมากจะเป็นน้ำตาลผสมรสชาติจะไม่หวานหอม สำหรับสีจะเลือกน้ำตาลอ่อนหรือแก่ขึ้นอยู่กับชนิดของขนมที่จะทำถ้าเป็นขนมจำพวกบัวลอย หรือปลากริม ควรเลือกน้ำตาลสีแก่จะทำให้ขนมสีสวยน่ารักประทาน

  8. เหตุผลที่ศึกษาค้นคว้าเหตุผลที่ศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อให้รู้ถึงขั้นตอนการตอนการทำขนมข้าวโปลง 2. เพื่อให้รู้ถึงประวัติความเป็นมาของขนมไทย 3. เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รู้จักขนมไทยโบราณ 4. เพื่อให้คนรุ่นหลังได้อนุรักษ์ต่อไป 5. เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย

  9. ประมวลภาพการทำ

  10. ประมวลภาพวัตถุดิบ/อุปกรณ์ประมวลภาพวัตถุดิบ/อุปกรณ์

More Related