1 / 43

3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition). มีผู้ขายจำนวนมากราย ขายสินค้าที่แตกต่างกันแต่สามารถใช้แทนกันได้ (differentiated product) การเข้ามาผลิตแข่งขันหรือออกไปจากตลาดเป็นไปได้โดยเสรี. ตลาดผู้ขายมากราย.

clem
Télécharger la présentation

3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด(Monopolistic Competition) มีผู้ขายจำนวนมากราย ขายสินค้าที่แตกต่างกันแต่สามารถใช้แทนกันได้ (differentiated product) การเข้ามาผลิตแข่งขันหรือออกไปจากตลาดเป็นไปได้โดยเสรี

  2. ตลาดผู้ขายมากราย • เส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ • ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ

  3. เส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจเส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • เส้นอุปสงค์จะเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายมาทางขวาเช่นเดียวกับตลาดผูกขาด แต่ลักษณะของเส้นจะลาดกว่า • ระยะห่างของเส้นอุปสงค์จากแกนตั้ง จะแสดงถึงความนิยมในสินค้า และส่วนแบ่งตลาด P d MR 0 Q

  4. เส้น d40 หมายถึง เส้นอุปสงค์เมื่อจำนวนหน่วยธุรกิจมีเพียง 40 ราย เส้น d70 หมายถึง เส้นอุปสงค์เมื่อจำนวนหน่วยธุรกิจมีเพียง 70 ราย ถ้าหน่วยธุรกิจในตลาดมีมาก ส่วนแบ่งตลาดก็จะลดลง เส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจ P d40 d70 Q 0

  5. ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ • หน่วยธุรกิจจะอยู่ในดุลยภาพเมื่อผลิต ณ จุดที่ SMC=MR • ในระยะสั้น หน่วยธุรกิจอาจอยู่ในสถานการณ์ของการมีกำไรเกินปกติ กำไรปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเส้นต้นทุนและอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจ

  6. ดุลยภาพเกิดขึ้น ณ จุด E (SMC=MR) ผลิตสินค้าออกจำหน่าย OQ หน่วย ราคาหน่วยละ OP บาท ได้รับกำไรเกินปกติ จำนวน PABC TR = OPAQ TC = OCBQ  = PABC ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ : กรณีต้นทุนต่อหน่วยต่ำ และสินค้าเป็นที่นิยมมาก P,R SMC SAC A P B C AR=D=P E MR Q 0 Q

  7. ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ • หน่วยธุรกิจจะเปลี่ยนไปใช้ขนาดโรงงานที่เหมาะสมที่สุด และปรับปริมาณการผลิตไปอยู่ ณ จุด LMC=MR • ในระยะยาวหน่วยธุรกิจจะได้รับเพียงแค่กำไรปกติเท่านั้น • หน่วยธุรกิจที่ประสบกับการขาดทุนก็จะออกจากตลาดไป ส่วนแบ่งตลาดของหน่วยธุรกิจที่เหลือจะสูงขึ้น • ในระยะยาวหากหน่วยธุรกิจในตลาดได้รับกำไรเกินปกติ จะเป็นการดึงดูดหน่วยธุรกิจใหม่ๆ เข้ามาสู่อุตสาหกรรม

  8. ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ : กรณีหน่วยธุรกิจได้รับผลขาดทุนในระยะสั้น P, C, R LMC LAC P2 P1 d2=AR2 d1=AR1 MR1 MR2 Q O Q1 Q2

  9. ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ :กรณีหน่วยธุรกิจได้รับกำไรเกินปกติในระยะสั้น P, C, R LMC LAC P1 P2 d1=AR1 d2=AR2 MR1 MR2 Q O Q2 Q1

  10. ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ (ต่อ) • เนื่องจากเส้นอุปสงค์เป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายลงมาขวา ดังนั้น ปริมาณการผลิตที่ทำให้ได้รับกำไรปกติ (AR=AC) ย่อมอยู่ทางซ้ายมือของเส้น LAC • โรงงานที่ใช้ในการผลิต ณ จุดดุลยภาพในระยะยาวจึงเป็นโรงงานที่มีขนาดเล็กกว่าโรงงาน ณ จุดต่ำสุดของ LAC • ในระยะยาวหน่วยธุรกิจไม่ได้ใช้ขนาดโรงงานที่มีต้นทุนต่ำสุด (optimum scale of plant) และไม่ได้ผลิตในจำนวนที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยของโรงงานที่ใช้อยู่มีค่าต่ำสุด (optimum rate of output) ซึ่งต่างกับกรณีของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์

  11. ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิต : โรงงานขนาดเล็ก • ดุลยภาพ : SMC=LMC=MR < SAC=LAC P,R LMC SMC LAC SAC A P AR=D=P MR Q 0 Q

  12. 4. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) มีหน่วยธุรกิจจำนวนเพียงสองสามรายที่ผลิตสินค้าออกจำหน่าย สินค้ามีลักษณะแตกต่างกัน แต่สามารถใช้แทนกันได้ การเข้ามาผลิตแข่งขันในตลาด หรือการออกจากตลาดสามารถทำ ได้อย่างเสรี การกระทำของผู้ขายแต่ละรายจะกระทบต่อกัน เช่น การลดราคาสินค้าจะทำให้ผู้ขายรายอื่นมียอดขายลดลง

  13. ตลาดผู้ขายน้อยราย • เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • นโยบายของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย • การรักษาราคาให้คงที่ • การแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา • การเป็นผู้นำราคา • การรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ • การใช้ทฤษฎีเกมส์ในการกำหนดนโยบาย

  14. เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจเส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • เส้นอุปสงค์เป็นเส้นที่ลาดจากซ้ายลงมาทางขวา • ระยะห่างจากแกนตั้งจะอยู่ระหว่างตลาดผูกขาดและตลาดผู้ขายมากราย • ความชันจะน้อยกว่าตลาดผูกขาด แต่มากกว่าตลาดผู้ขายมากราย P d MR 0 Q

  15. ราคาเดิม ณ OP ปริมาณซื้อ OQ การลดราคาสินค้าเป็น OP1 : คาดว่าจะขายได้P1B ขายได้จริงP1C เพราะรายอื่นก็ลดราคาลงด้วย การขึ้นราคาสินค้าเป็น OP2 : คาดว่าจะขายได้ P2D ขายได้จริง P2Eเพราะรายอื่นไม่ขึ้นราคาด้วย เส้นMR จะมี 2 ช่วง 1. นโยบายการรักษาราคาให้คงที่ : แบบจำลองอุปสงค์หักงอ(kinked demand curve model) P E D P2 P B P1 C d2 MR2 d1 MR1 Q Q 0

  16. จุดผลิตที่ดีที่สุดคือจุดที่MC1=MRจุดผลิตที่ดีที่สุดคือจุดที่MC1=MR ผลิตสินค้าออกขายOQ หน่วย ขายในราคาOP บาท ได้รับกำไรเกินปกติ PABC การเปลี่ยนแปลงต้นทุนการผลิต ซึ่งมีผลทำให้ MC เลื่อนในช่วงEF จะไม่มีผลทำให้ปริมาณการผลิตและราคาเปลี่ยนแปลง แบบจำลองอุปสงค์หักงอ P, C, R MC2 MC1 AC2 AC1 A P B C E F d=AR Q Q MR 0

  17. 2. นโยบายการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา • สงครามราคา (price war) : ท้ายที่สุดจะนำมาซึ่งความเสียหายแก่หน่วยธุรกิจ • นโยบายการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา เช่น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงรูปแบบตัวสินค้า การเปลี่ยนแปลงวิธีการขาย แจกของแถม และจับฉลากรางวัล เป็นต้น • ผลกระทบจากการใช้นโยบาย • ด้านต้นทุน : ต้นทุนเพิ่มขึ้น (ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่ม, ต้นทุนคงที่เพิ่ม) • ด้านรายรับ : หากนโยบายประสบความสำเร็จ ส่วนแบ่งตลาดมากขึ้น เส้นอุปสงค์จะเลื่อนสูงขึ้น (รายรับมากขึ้น)

  18. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ทำให้กำไรลดลง • หน่วยธุรกิจมีต้นทุนสูงขึ้นมากกว่ารายรับที่เพิ่ม • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ประสบความสำเร็จ • หน่วยธุรกิจสามารถมีรายรับเพิ่มมากกว่าต้นทุนที่สูงขึ้น

  19. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ประสบความสำเร็จ P, C, R MC2 MC1 AC2 A2 P2 AC1 A1 P1 B2 C2 C1 d2=AR2 B1 E2 d1=AR1 MR2 E1 MR1 Q O Q1 Q2

  20. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน :กรณีประสบความสำเร็จ • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC1=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2และ MC2 • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC2=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างมาก

  21. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ทำให้กำไรลดลง P, C, R MR2 MC1 MC2 AC2 A2 P2 A1 P1 AC1 B2 C2 B1 C1 E2 d2=AR2 d1=AR1 E1 Q MR1 O Q1 Q2

  22. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน :กรณีไม่ประสบความสำเร็จ • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC1=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2และ MC2 • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC2=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจลดลงจากเดิม

  23. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นนโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น • ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มงบประมาณค่าโฆษณา • ต้นทุนต่อหน่วยจะเพิ่มสูงขึ้นแต่จะไม่ขนานกับเส้นเดิม โดยระยะห่างระหว่างเส้นใหม่และเส้นเดิมจะค่อยๆ ลดลง • ต้นทุนหน่วยสุดท้ายไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก MC ไม่มีความสัมพันธ์กับ FC

  24. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นนโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น P, C, R MR1 MR2 MC AC2 A2 P2 A1 AC1 P1 C2 B2 B1 C1 d2=AR2 E2 E1 d1=AR1 Q O Q1 Q2

  25. นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น (ต่อ) • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2แต่ MC เป็นเส้นเดิม • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจ จะมากขึ้นหรือน้อยลง ขึ้นอยู่กับระดับที่สูงขึ้นของเส้นอุปสงค์(รายรับ) เมื่อเทียบกับต้นทุนต่อหน่วยที่เพิ่มขึ้น

  26. 3. นโยบายการเป็นผู้นำราคา (price leadership) • นโยบายการเป็นผู้นำราคา เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการขจัดปัญหาการกระทบกระทั่งระหว่างหน่วยธุรกิจ และเป็นที่ใช้อยู่โดยทั่วไป • ผู้นำราคาโดยผู้ผลิตรายใหญ่ (price leadership by dominant firm) • ผู้นำราคาโดยผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ (price leadership by a low cost firm) • Barometric price leadership • ผู้นำราคาจากการตกลงร่วมกัน (collusive price leadership)

  27. 4. นโยบายการรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ :การรวมตัวกันอย่างสมบูรณ์ (perfect collusion) • หน่วยธุรกิจทุกรายจะตกลงร่วมมือกันที่จะดำเนินนโยบายเดียวกันในทุกเรื่อง • ราคาสินค้ามีเพียงราคาเดียวและเป็นราคาที่กำไรรวมของกลุ่มสูงสุด • ปริมาณการผลิตทั้งหมดเป็นปริมาณการผลิตที่ MC ของกลุ่มเท่ากับMRของกลุ่ม • หน่วยธุรกิจจะได้รับการจัดสรรโควตาการผลิต • ต้นทุนแตกต่างกัน • กำไรต่อหน่วยแตกต่างกัน

  28. นโยบายการรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ :การรวมตัวกันอย่างไม่สมบูรณ์ (imperfect collusion) • เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ โดยมีข้อตกลงในการกำหนดนโยบายร่วมกันบางเรื่องเท่านั้น • เช่น ตกลงกันในเรื่องการกำหนดราคาขายไว้เป็นราคาเดียวกัน สำหรับนโยบายส่งเสริมการขายเป็นสิทธิที่หน่วยธุรกิจสามารถที่จะดำเนินการอย่างใดก็ได้

  29. 5. การใช้ทฤษฎีเกมส์ในการกำหนดนโยบาย (Games Theory) • การเลือกดำเนินนโยบายใดของหน่วยธุรกิจ ต้องใช้หลักการคาดคะเนนโยบายของคู่แข่งขันไปพร้อมๆกัน • ยกตัวอย่างเช่น

  30. ผลของตลาดต่างๆ โดยเปรียบเทียบ ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด ผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ ผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม

  31. ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาดผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด • ผู้ผลิตจะผลิตสินค้า ณ จุดที่ MC=MR • ความชันของเส้น MR : ผูกขาด> ผู้ขายน้อยราย >ผู้ขายมากราย >แข่งขันสมบูรณ์ • ปริมาณการผลิต : ผูกขาด< ผู้ขายน้อยราย <ผู้ขายมากราย <แข่งขันสมบูรณ์ • ราคาสินค้า : ผูกขาด> ผู้ขายน้อยราย >ผู้ขายมากราย >แข่งขันสมบูรณ์

  32. ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาดผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด P, C, R MC AC MRตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MRตลาดผู้ขายมากราย MRตลาดผู้ขายน้อยราย MRตลาดผูกขาด Q O

  33. ผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ • การจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และต่ำสุดในตลาดผูกขาด • ในตลาดผูกขาด ผู้ผูกขาดมักกำหนดปริมาณการผลิตให้ต่ำ และตั้งราคาสูง การผลิตในปริมาณที่ต่ำจะทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ

  34. ผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ • การใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และน้อยสุดในตลาดผูกขาด • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ : ระยะยาวหน่วยธุรกิจจะทำการผลิตด้วยขนาดโรงงานที่มีต้นทุนต่ำที่สุด (โรงงาน ณ จุดต่ำสุดของ LAC) • ตลาดผูกขาด : ระยะยาวผู้ผูกขาดอาจไม่จำเป็นต้องใช้โรงงานที่มีต้นทุนต่ำสุด (ปริมาณการผลิตต่ำ อาจใช้โรงงานขนาดเล็กเท่านั้น)

  35. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จุดผลิต ณ จุด E (MC=MR) ปริมาณการผลิต OQP ราคา OPP ผลประโยชน์ต่อสังคมสุทธิ : OMEQP – OPPEQP = MPPE (เท่ากับส่วนเกินผู้บริโภค) ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม P,R M E PP AC=MC=AR=MR Dผู้บริโภค Q 0 QP

  36. ตลาดผูกขาด จุดผลิต ณ จุด A (MC=MR) ปริมาณการผลิต OQM ราคา OPM ผลประโยชน์ต่อสังคมสุทธิ : OMBQM – OPPAQM = PPMBA ส่วนเกินผู้บริโภค : MBPM กำไรเกินปกติของผู้ผูกขาด : ABPMPP ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม Consumer surplus P,R Profit M PM B E A PP AC=MC=AR=MR AR=D=P MR Q 0 QM

  37. ประสิทธิภาพและความล้มเหลวของกลไกราคาประสิทธิภาพและความล้มเหลวของกลไกราคา ประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจ ความล้มเหลวของกลไกราคา

  38. ประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจ • การผลิต: กลไกราคาช่วยเลือกชนิดของสินค้าที่ผลิต และจัดสรรการผลิตให้เป็นไปตามความต้องการของสังคมได้อย่างถูกต้อง ระดับความพอใจส่วนรวมของสังคมอยู่ในระดับสูงสุด • การจัดสรรปัจจัยการผลิต: กลไกราคาทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรในแหล่งที่ได้ผลตอบแทนสูงสุดเสมอ

  39. ความล้มเหลวของกลไกราคาความล้มเหลวของกลไกราคา • แม้ว่ากลไกราคาจะสามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจให้เกิดประโยชน์สูงสุดก็ตาม แต่ประโยชน์ดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ส่วนบุคคล ไม่ใช่ประโยชน์ในแง่สังคมส่วนรวม • ผลประโยชน์ภายใน ผลประโยชน์ภายนอก ผลประโยชน์สังคม • ต้นทุนภายใน ต้นทุนภายนอก ต้นทุนสังคม • ในการผลิตสินค้าที่ต้องใช้ปัจจัยการผลิตที่มีลักษณะที่แบ่งแยกไม่ได้ เช่น เครื่องมือเครื่องจักร แรงงานฝีมือ ซึ่งมีต้นทุนสูง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ไม่สามารถก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการผลิตได้ เพราะหน่วยธุรกิจเป็นเพียงส่วนย่อยในตลาด มีประมาณการผลิตไม่มาก

  40. ความล้มเหลวของกลไกราคา (ต่อ) • ระบบเศรษฐกิจเผชิญกับปัญหาในการใช้กลไกราคากำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าสาธารณะ (public goods) • สินค้าสาธารณะ : ทุกคนในสังคมได้รับประโยชน์เท่ากัน การใช้ประโยชน์ของบุคคลหนึ่งจะไม่กระทบต่อการบริโภคของบุคคลอื่น เช่น การป้องกันประเทศ วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสงสว่างบนท้องถนน เป็นต้น • สำหรับสินค้าสาธารณะ ไม่ว่าผู้บริโภคจะจ่ายเงิน (จ่ายภาษี)เพื่อซื้อสินค้าและบริการหรือไม่ ก็จะได้รับประโยชน์เหมือนกัน ดังนั้น จึงไม่มีหน่วยธุรกิจใดอยากเข้ามาผลิตสินค้าสาธารณะ

  41. สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท

  42. สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท (ต่อ)

  43. สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท (ต่อ)

More Related