1 / 51

Mambo Open source (MOS) Content Management System Deployment

Mambo Open source (MOS) Content Management System Deployment. Aekapop Bunpeng aekapop@buu.ac.th Burapha University Computer Center. แนะนำ Open Source ตามแนวทาง GNU / GPL. GNU General Public License

gin
Télécharger la présentation

Mambo Open source (MOS) Content Management System Deployment

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Mambo Open source (MOS) Content Management System Deployment Aekapop Bunpeng aekapop@buu.ac.th Burapha University Computer Center

  2. แนะนำ Open Source ตามแนวทาง GNU/GPL GNU General Public License มีจุดมุ่งหมายเพื่อประกันเสรีภาพของคุณในการแบ่งปันและแก้ไขซอฟต์แวร์เสรี (free software) เพื่อทำให้แน่ใจว่าซอฟต์แวร์จะเป็นสิ่งที่เสรีสำหรับผู้ใช้ทุกคน General Public License คือสัญญาอนุญาตให้สาธารณะชนใช้สิทธิตามลิขสิทธิ์ที่ได้รับการนำมาใช้กับซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ของ Free Software Foundation และโปรแกรมใดก็ตามที่ผู้สร้างสรรค์ยึดมั่นต่อการใช้สัญญานี้

  3. แนะนำ CMS CMS ย่อมาจาก Content Management System เป็นระบบที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์แบบสำเร็จรูปตัวอย่างโปรแกรม CMS เช่น • PostNuke • PHPNuke • MyPHPNuke • Mambo • eNvolution

  4. การประยุกต์ใช้ CMS ในวงการต่างๆ • การนำ CMS มาใช้ในสถาบันการศึกษา ธุรกิจบันเทิง หนังสือพิมพ์การ เงิน การธนาคาร หุ้นและการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ งานบุคคล งานประมูล สถานที่ท่องเที่ยว งานให้บริการลูกค้า โรงแรม • การนำ CMS มาใช้ในหน่วยงานของรัฐ หรือ องค์กรต่างๆ • การนำ CMS มาใช้แทนโปรแกรมลิขสิทธิ์ อื่นๆ เพื่อลดต้นทุนขององค์กร • การนำ CMS มาใช้ทำเว็บส่วนบุคคล หรือ ประยุกต์ใชทำเว็บท่า

  5. แนะนำ Mambo Open Source (MOS) • Mambo Open Source (MOS) คือ ระบบจัดการรูปแบบและเนื้อหาของเว็บไซด์ • Mambo สามารถประยุกต์ใช้ตามรูปแบบที่ต้องการได้โดยง่ายสามารถนำมาจัดทำเว็บไซด์ได้ในหลายๆ รูป เช่น เว็บท่า เว็บ Blog เว็บ eCommerce เป็นต้น • Mambo ใช้ง่ายได้ง่ายไปซับซ้อนเหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์ จนถึงผู้พัฒนาเว็บไซด์มืออาชีพ • Mambo มีรูปแบบในการจัดทำ Package ทำให้สามารถติดตั้งหรือถอดถอนการติดตั้งได้โดยง่าย

  6. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Mambohttp://www.buraphateen.com

  7. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Mambohttp://www.mambohub.com

  8. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Mambohttp://www.mamboportal.com

  9. การจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์เป็น Web Server • เราสามารถจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้เป็นเครื่องให้บริการเว็บได้โดยใช้โปรแกรม AppServ ซึ่งเป็นโปรแกรมแบบ Open Source อีกตัวที่ทำหน้าที่ให้บริการเว็บซึ่งได้รวมโปรแกรม Apache Web Server, PHP Complier, MySQL Database Server, PHPMyAdmin Database Management เข้าไว้ด้วยกันโดยสามารถ Download ได้จาก http://www.appservnetwork.com

  10. การติดตั้ง AppServ • เมื่อทำการเริ่มทำการโปรแกรมจะมีหน้าตาดังรูป • ให้เลือก Next เพื่อไปที่หน้าจอถัดไป • หน้าจอถัดไปจะทำการจ้าสถานที่ติดตั้งโปรแกรม ให้เลือก Next เพื่อไปที่หน้าจอถัดไป

  11. การติดตั้ง AppServ (ต่อ) • ทำการเลือกรูปแบบการติดตั้งโปรแกรม ให้เลือก Next เพื่อไปที่หน้าจอถัดไป • ทำการใส่ค่า configuration ของโปรแกรมโปรแกรม ให้เลือก Next เพื่อไปที่หน้าจอถัดไป

  12. การติดตั้ง AppServ (ต่อ) • ทำการติดตั้ง MySQL Server ให้เลือก Next เพื่อไปที่หน้าจอถัดไป • แสดงการเริ่มติดตั้ง

  13. การติดตั้ง AppServ (ต่อ) • ขณะติดตั้ง • เมื่อติดตั้งเรียบร้อยจะบอกว่าเริ่มทำงานเป็น Web Server

  14. ทดสอบการทำงานของ Web Server • เมื่อติดตั้งเรียบร้อยแล้ว ทดสอบการทำงานโดยการเปิด Browser ไปที่ http://localhostจะเห็นหน้าจอดังรูป

  15. ทำการติดตั้ง Mambo • ทำการ Download โปรแกรม Mambo ได้จาก http://www.mamboserver.com

  16. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • เมื่อได้แฟ้มมาแล้วให้ทำการ unzip ไปไว้ที่ C:\AppServ\www\mambo

  17. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • เมื่อ unzip เรียบร้อยแล้วให้ทำการเปิด Browser ไปที่ http://localhost/mamboจะได้หน้าจอดังรูป เลือก Continue เพื่อไปขั้นตอนถัดไป

  18. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • ให้ทำการใส่ค่าต่าง ๆเกียวกับ Database ดังรูปแล้วเลือก Next เพื่อขั้นตอนต่อไป

  19. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • ให้ทำการใส่ชื่อของเว็บไซด์ แล้วเลือก Next เพื่อขั้นตอนต่อไป

  20. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • ให้ทำการใส่อีเมลล์ และ รหัสผ่าน แล้วเลือก Next เพื่อขั้นตอนต่อไป

  21. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • Mambo จะยืนยัน Username และ Password เลือก Run เพื่อดูหน้าตาของ Mambo

  22. ทำการติดตั้ง Mambo (ต่อ) • จะได้หน้าตาของ Mambo ดังรูป ให้เลือก Administrator เพื่อเข้าหน้าจอของผู้ดูแลระบบ

  23. การปรับแต่ง Mambo • หน้าจอของผู้ดูแลระบบให้ใส่ Username และ Password เพื่อเข้าไปแก้ไขขอ้มูลต่าง ๆ

  24. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • หน้าจอของผู้ดูแลระบบจะมีเมนูต่าง ๆ ให้เข้าไปแก้ไข

  25. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • เมนู Site จะเป็นการเข้าไปแก้ไขรายละเอียด และรูปแบบการแสดงผลของเว็บไซด์ โดยเราจะทำการเพิ่มภาษาไทยเข้าไปโดยไปที่ Site -> Language Manager จะได้หน้าจอดังรูป ให้เลือก New ที่ Tool bar

  26. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • จะมีหน้าจอขึ้นมาให้ Upload Module ภาษาไทยดังรูป ให้เลือก Browe แล้ว เลือกแฟ้ม Module ภาษาไทย แล้วทำการ Upload File

  27. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • จะได้ภาษาไทยเข้ามาในส่วนของการ Install ให้เลือก Thai แล้วเลือก Publish

  28. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • ทำการปรับ locate ให้เป็นไทยโดยไปที่ Site -> Globale Configuration แล้วเลือก locale ทำการแก้ Coutry Code ให้เป็น th_TH แล้วลือก Save

  29. การปรับแต่ง Mambo (ต่อ) • ทดสอบการแสดงผลภาษาไทยโดยการเลือกเมนู Site -> Preview จะได้ผลรับดังรูป จะเห็นได้ว่าสามารถแสดงผลเป็นภาษาไทยแล้ว

  30. การจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหาการจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา • การจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา ให้ไปที่ Content -> Add / Edit Section เพื่อสร้างหมวดหมู่ของเนื้อหา

  31. การจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา (ต่อ) • เมื่อทำการสร้าง หรือแก้ไขหมวดหมู่จะมีหน้าจอให้กรอกข้อมูลและบันทึกดังรูป

  32. การจัดการเนื้อหา • หน้าจอแสดงการจัดการเนื้อหา

  33. การจัดการเนื้อหา • หน้าจอแสดงการจัดการเนื้อหาจะแสดงเนื้อหาที่มีอยู่เพื่อแก้ไข ยกเลิก ลบ หรือสร้างใหม่

  34. การจัดการเนื้อหา (ต่อ) • เมื่อทำการสร้างเนื้อหาใหม่สามารถสร้างได้โดยพิมพ์คล้าย โปรแกรมสร้างเว็บทั่วไป

  35. การเพิ่ม Template ของ Mambo • เราสามารถเพิ่ม Template ของ Mambo โดยการ Download Template ที่แจกจ่ายอยู่บนอินเตอร์เน็ต หรือ เราสามารถพัฒนาขึ้นมาเอง • เราสามารถ Download Template เพิ่มได้จาก http://www.mamboportal.com • การเพิ่มสามารถทำได้จากเมนู Site -> Template Management ดังรูป

  36. การเพิ่ม Template ของ Mambo(ต่อ) • เมื่อเลือกแล้วเราจะเห็นรายการ Template ที่มีอยู่ในระบบ สามารถเปลื่ยนได้โดยเลือก Template แล้วเลือก Publish ถ้าต้องการเพิ่มเลือก New จะได้หน้าจอดังรูปถัดไป

  37. การเพิ่ม Template ของ Mambo(ต่อ) • ทำการ Browse ไปที่ Template ที่เราต้องการ แล้วเลือก Upload File เพื่อ Install

  38. การเพิ่ม Component ของ Mambo • Component ของ Mambo คือส่วนที่จะแสดงผลในส่วนของเนื้อหาของตัวเว็บ • เราสามารถเพิ่ม Component ของ Mambo โดยการ Download Component ที่แจกจ่ายอยู่บนอินเตอร์เน็ต หรือ เราสามารถพัฒนาขึ้นมาเอง เราสามารถ Download Component เพิ่มได้จาก http://www.mamboportal.com การเพิ่มสามารถทำได้จากเมนู Component -> Install/Uninstall ดังรูป

  39. การเพิ่ม Component ของ Mambo (ต่อ) • เมื่อเลือกแล้วเราจะเห็นรายการ Component ที่มีอยู่และ ทำการเพิ่มได้โดยเลือก Browse และทำการเลือก Upload File เพื่อเพิ่ม Component

  40. การเพิ่ม Module ของ Mambo • Modules ของ Mambo คือส่วนที่จะแสดงผลในส่วนของด้านซ้ายและขวาของเว็บ • เราสามารถเพิ่ม Modules ของ Mambo โดยการ Download Modules ที่แจกจ่ายอยู่บนอินเตอร์เน็ต หรือ เราสามารถพัฒนาขึ้นมาเอง เราสามารถ Download Module เพิ่มได้จาก http://www.mamboportal.com การเพิ่มสามารถทำได้จากเมนู Modules -> Install/Uninstall ดังรูป

  41. การเพิ่ม Module ของ Mambo (ต่อ) • เมื่อเลือกแล้วเราจะเห็น Module ที่มีอยู่และ ทำการเพิ่มได้โดยเลือก Browse และทำการเลือก Upload File เพื่อเพิ่ม Module และทำการเปิดทำงานของ Module ดังรูปถัดไป

  42. การเพิ่ม Module ของ Mambo(ต่อ) • ทำการเลือก Module ที่ต้องการให้ทำงาน แล้วเลือก publish เพื่อให้ทำงาน สังเกตจากรูป X แสดงว่ายังไม่ได้เปิดให้ทำงาน

  43. การสำรองข้อมูลของ Mambo • เราทำการสำรองข้อมูลของเว็บเก็บไว้กรณีที่เราเกิดพลาดลบข้อมูลไปได้โดยสามารถสำรองข้อมูลได้ทั้งหมดทั้งในส่วนของ Component และ Module • การสำรองสามารถทำได้จากเมนู System -> Database -> Backup ดังรูป

  44. การสำรองข้อมูลของ Mambo (ต่อ) • ทำการเลือกรูปแบบการสำรองแล้ว เลือก Backup the Select Tables เพื่อทำการสำรองแล้วโปรแกรมจะทำการส่งแฟ้มที่สำรองมาให้เราเก็บไว้ดังรูปถัดไป

  45. การสำรองข้อมูลของ Mambo(ต่อ) • ให้เราทำการ Save เก็บไว้

  46. การอับโหลดขึ้น Hosting เมื่อเราทำการแก้ไขจนเป็นที่พอใจแล้วการำเว็บขึ้น Hosting ทำได้ง่าย ๆ เพียงแค่ Upload โฟลเดอร์ Mambo ขึ้นไปที่ hosting แล้วทำการแก้ไข ไฟล์ configuration.php โดยแก้ไข Path และข้อมูลเกี่ยวกับ Database ให้ถูกต้อง $mosConfig_host = 'localhost'; $mosConfig_user = 'user'; $mosConfig_password = 'password'; $mosConfig_db = 'database'; $mosConfig_dbprefix = 'mos_'; $mosConfig_lang = ‘thai'; $mosConfig_absolute_path = '/home/user/public_html'; $mosConfig_live_site = 'http://www.yoursite.com';

  47. การอับโหลดขึ้น Hosting(ต่อ) ทำการนำ ข้อมูลที่สำรองไว้มาทำการสร้าง Database ใหม่ แล้วทำการ chmod ให้ แฟ้มและโฟลเดอร์ต่อไปนี้สามารถเขียนได้ chmod -R 777 images chmod -R 777 media chmod -R 777 uploadfiles chmod -R 777 components chmod -R 777 languages chmod -R 777 modules chmod -R 777 templates chmod -R 777 administrator/backups chmod -R 777 administrator/components chmod 777 configuration.php

  48. การพัฒนา Template สำหรับนักออกแบบ เราสามารถทำการพัฒนา Template ได้โดยใช้โปรแกรม ออกแบบเว็บทั่วไปเช่น Dramwaver, Firework , GoLive, Forntpage โดย Dramwaver จะมี Extension ให้ Download เพื่อใช้ในการออกแบบโดยตรง การออกแบบหน้าจอของ Mambo จะแบ่งออกเป็น 7 ส่วนดังรูป

  49. การพัฒนา Template สำหรับนักออกแบบ (ต่อ) • ส่วนแรกคือส่วนของ Header • ส่วนที่สองคือส่วนของการค้นหาข้อมูล • ส่วนที่สามคือส่วนของ Pathway • ส่วนที่สี่คือเมนูด้านซ้าย • ส่วนที่ห้าคือส่วนของเนื้อหา • ส่วนที่หกคือเมนูด้านขวา • ส่วนที่เจ็ดคือ Footer ซึ่งเราสามารถจัดแต่ละส่วนได้ตามใจเราเพียงแต่ขณะที่เราเขียน Code จะมี Code ของการแสดงผลอยู่ 7 ส่วน

  50. การพัฒนา Template สำหรับนักออกแบบ (ต่อ) • โดยการจัดทำ Package ของ Template จะต้องจัดทำแฟ้ม xml เพื่อนำเข้ามีลักษณะดังนี้

More Related