1 / 31

ตัวแปร และ สมมติฐาน Variable and Hypothesis

ตัวแปร และ สมมติฐาน Variable and Hypothesis. ตัวแปร Variables สิ่งที่แปรเปลี่ยนค่าได้ มากกว่า ๑ ค่า.  ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต้น) Independent Variable ตัวแปรที่เป็นเหตุที่ทำให้เกิดผลตามมา  ตัวแปรตาม Dependent Variable ตัวแปรที่เป็นผลจากการกระทำของตัวแปรต้น

jarrod-chen
Télécharger la présentation

ตัวแปร และ สมมติฐาน Variable and Hypothesis

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวแปร และ สมมติฐานVariable and Hypothesis

  2. ตัวแปร Variablesสิ่งที่แปรเปลี่ยนค่าได้ มากกว่า ๑ ค่า ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต้น) Independent Variable • ตัวแปรที่เป็นเหตุที่ทำให้เกิดผลตามมา ตัวแปรตาม Dependent Variable • ตัวแปรที่เป็นผลจากการกระทำของตัวแปรต้น ตัวแปรแทรกซ้อน Intervening Variable • ตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษา ไม่สามารถควบคุมได้ แต่ป้องกันได้

  3. การกำหนดตัวแปร ผลของการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงที่มีต่อ การลดพฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน ของนักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรคงที่ การให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง พฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน นักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์

  4. การกำหนดตัวแปร ผลการใช้แบบฝึกอ่านคำควบกล้ำกับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสายสมรอุปถัมภ์ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรคงที่ แบบฝึกคำควบกล้ำ ผล/คะแนน จากการฝึกคำควบกล้ำ นักเรียนชั้น ป.2

  5. การกำหนดตัวแปร แรงจูงใจในการเป็นชายขายบริการ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรคงที่ แรงจูงใจ การตัดสินใจเป็นชายขายบริการ ชายขายบริการ (กลุ่มตัวอย่าง)

  6. การกำหนดตัวแปร การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเข้าห้องเรียนสาย ด้วยกิจกรรมสร้างลักษณะนิสัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรคงที่ กิจกรรมสร้างลักษณะนิสัย พฤติกรรมการเข้าห้องเรียน

  7. สมมุติฐาน Hypothesis ข้อความที่คาดคะเนคำตอบ หรือผลการศึกษาวิจัย เป็นการคาดคะเนความเป็นไปได้ของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ๒ ตัวขึ้นไป • อาศัยทฤษฎี หลักการ เหตุผล ความรู้ ประสบการณ์ • เป็นจริง / ไม่จริง ถูกต้อง / ไม่ถูกต้อง สมมุติฐานจะเป็นจริง / ถูกต้อง เมื่อมีการพิสูจน์ /ทดสอบ โดยอาศัยข้อมูลและวิธีการทดสอบทางสถิติ

  8. สมมติฐาน ทางการวิจัย มีลักษณะเป็นข้อความบรรยาย ทางสถิติ ใช้สัญลักษณ์แทน H0สมมติฐานกลาง H1 สมมติฐานทางเลือก มีทิศทาง สูงกว่า ต่ำกว่า < > ไม่มีทิศทาง แตกต่าง ไม่แตกต่าง = ≠

  9. ประเภทของสมมติฐาน สมมติฐานทางสถิติ Statistical Hypothesis : ใช้สัญลักษณ์แทนข้อความที่เป็นการพยากรณ์คำตอบ การวิจัยไว้ล่วงหน้า เพื่อใช้ในการทดสอบทางสถิติ สมมติฐานการวิจัยResearch Hypothesis : ข้อความที่เป็นการพยากรณ์คำตอบการวิจัยไว้ล่วงหน้า

  10. ประเภทของสมมติฐาน Ex. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างจากนักเรียนที่เรียนแบบปกติ สมมติฐานการวิจัย Research Hypothesis : ข้อความที่เป็นการพยากรณ์คำตอบการวิจัยไว้ล่วงหน้า

  11. ประเภทของสมมติฐาน : แบบมีทิศทาง Directional Hypothesis เขียนการคาดคะเนคำตอบการวิจัยที่ระบุทิศทางแน่นอน Ex. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่า นักเรียน ที่เรียนแบบปกติ

  12. ประเภทของสมมติฐาน :แบบไม่มีทิศทางNondirectional Hypothesis การคาดคะเนคำตอบการเขียนที่ไม่ระบุทิศทางแน่นอน Ex. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่างจากนักเรียนที่เรียนแบบปกติ

  13. ประเภทของสมมติฐาน สมมติฐานทางสถิติ Statistical Hypothesis : ใช้สัญลักษณ์แทนข้อความที่เป็นการพยากรณ์คำตอบ การวิจัยไว้ล่วงหน้า เพื่อใช้ในการทดสอบทางสถิติ

  14. สมมติฐานทางสถิติ Statistical Hypothesis : สมมติฐานกลาง NullHypothesis = H0 ใช้เป็นเกณฑ์การทดสอบ ค่าพารามิเตอร์ - ระบุถึงความไม่แตกต่างของค่าพารามิเตอร์ - เขียนในลักษณะไม่มีความสัมพันธ์ หรือ ไม่มีความแตกต่าง ณ ระดับไร้นัยสำคัญ (ความเป็นจริง)

  15. สมมติฐานทางสถิติ Statistical Hypothesis : สมมติฐานทางเลือก Alternative Hypothesisตรงข้ามกับสมมติฐานกลาง(H1) - เขียนแสดงถึงความแตกต่าง หรือสัมพันธ์กันของ ค่าพารามิเตอร์ - เป็นสมมติฐานที่ควรจะเป็น ถ้าสมมติฐานกลางไม่ถูกต้อง

  16. การเขียนสมมติฐานทางเลือกการเขียนสมมติฐานทางเลือก :แบบมีทิศทาง -เขียนแสดงถึงความแตกต่าง ความสัมพันธ์ของตัวแปร ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง (มากกว่า น้อยกว่า ) - ต้องใช้ทฤษฎี เหตุผล ข้อมูลมายืนยันอย่างเพียงพอ ที่จะกำหนดทิศทาง H0: 1  2 H1 : 1  2

  17. การเขียนสมมติฐานทางเลือกการเขียนสมมติฐานทางเลือก : แบบไม่มีทิศทาง เขียนแสดงถึงความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์ ของตัวแปรที่ไม่ระบุทิศทางแน่นอน(แตกต่าง สัมพันธ์) หน้า 46 H1 :1  2 ค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 1 ไม่เท่ากับ ค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 2

  18. ตัวอย่างการเขียนHypothesis นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่า นักเรียนที่เรียนแบบปกติ H0 : 1  2 H1 :  1   2

  19. ตัวอย่างการเขียนHypothesis นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่าง จากนักเรียนที่เรียนแบบปกติ H0 : 1 = 2 H1 : 1 2

  20. สมมติฐาน ที่ดี สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย เป็นไปตามหลักการกำหนดสมมติฐาน แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอย่างชัดเจน เป็นข้อความที่เขียนชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย มีโอกาสเป็นไปได้สูง มีทฤษฎี เหตุผล ข้อมูลสนับสนุน สามารถตรวจสอบ ทดสอบ ตัดสินเพื่อยอมรับ หรือปฏิเสธ และสรุปผลได้

  21. ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. กำหนดสมมติฐานการวิจัย และสมมติฐานทางสถิติ 2. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ (ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในการทดสอบ ความน่าจะเป็น โอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง) 3. หาค่าวิกฤติ โดยการเปิดตาราง t(ค่าของขอบเขตการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง) 5.หาค่าสถิติทดสอบ (คำนวณ) 6. เปรียบเทียบค่าที่คำนวณได้กับค่าวิกฤต 7. ตัดสินใจ สรุปผล

  22. การทดสอบสมมติฐาน • 2.กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ level of significance • ใช้สัญลักษณ์  (alpha) • - ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในการทดสอบ • - ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง • ค่าระดับความมีนัยสำคัญ โดยทั่วไปคือ 0.01 และ 0.05 • (การทดสอบมีความน่าเชื่อถือได้ ร้อยละ 99 และ 95

  23. การทดสอบสมมติฐาน 3. หาค่าวิกฤติ Critical value - ค่าที่เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าจะยอมรับ หรือ ปฏิเสธสมมติฐานกลาง - ได้จากการเปิดตารางtโดยใช้ค่าระดับความมีนัยสำคัญ และชั้นแห่งความเป็นอิสระdfหน้า 197 Degree of Freedom

  24. การทดสอบสมมติฐาน : เป็นการพิจารณาค่าสถิติที่คำนวณได้ โดยเทียบกับพื้นที่ตามขอบเขตการยอมรับ หรือ ปฏิเสธ - ค่าที่คำนวณได้น้อยกว่า ค่าวิกฤติ = ยอมรับH0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน - ค่าที่คำนวณได้มากกว่า ค่าวิกฤติ = ยอมรับ H1: ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มแตกต่างกัน

  25. การหาค่าวิกฤตจากการเปิดตาราง t เป็นการทดสอบสมมติฐานหนึ่งทาง / สองทาง กำหนดระดับนัยสำคัญ  = .05 / .01 หาชั้นแห่งความเป็นอิสระ : หนึ่งกลุ่ม df = n-1 : สองกลุ่ม df = n1+n2-2 ค่าที่ระดับนัยสำคัญ กับ dfตัดกัน

  26. ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 df= 32 ค่าวิกฤต = ????? ตัวอย่าง นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบร่วมมือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่า นักเรียนที่เรียนแบบปกติ

  27. ตัวอย่าง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 df = 32 ค่าวิกฤต = ????? นักเรียนที่เรียนสังคมศึกษาด้วยวิธีเรียนแบบรวมมือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่าง จากนักเรียนที่เรียน แบบปกติ

  28. การกำหนดตัวแปร ผลของการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงที่มีต่อ การลดพฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน ของนักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรคงที่ การให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง พฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน นักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์

  29. การเขียนสมมติฐานการวิจัยการเขียนสมมติฐานการวิจัย ผลของการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงที่มีต่อการลดพฤติกรรม ไม่ตั้งใจเรียน ของนักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี การให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงทำให้พฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน ลดลง มีทิศทาง ไม่มีทิศทาง พฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียนก่อน กับหลังการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง แตกต่าง กัน

  30. การเขียนสมมติฐานทางสถิติการเขียนสมมติฐานทางสถิติ ผลของการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงที่มีต่อการลดพฤติกรรม ไม่ตั้งใจเรียน ของนักเรียนชั้น ม.2 โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี มีทิศทาง ไม่มีทิศทาง H0 : ก่อน <  หลัง H1 : ก่อน > หลัง H0 :  = 0 H0 : ก่อน = หลัง H1 :  0 H1 : ก่อน  หลัง

More Related