1 / 53

CUP MANAGEMENT and DISTRICT HEALTH TEAM MANAGEMENT

CUP MANAGEMENT and DISTRICT HEALTH TEAM MANAGEMENT. นายทองเลื่อน องอาจ สาธารณสุขอำเภอเมืองหนองคาย. ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองหนองคาย. อำเภอเมืองหนองคาย แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 16 ตำบล 181 หมู่บ้าน ประชากร จำนวน 148,238 คน สัดส่วน เพศชาย : หญิง = 46.74 : 53.26.

kirk-reed
Télécharger la présentation

CUP MANAGEMENT and DISTRICT HEALTH TEAM MANAGEMENT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CUP MANAGEMENT and DISTRICT HEALTH TEAM MANAGEMENT นายทองเลื่อน องอาจ สาธารณสุขอำเภอเมืองหนองคาย

  2. ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองหนองคายข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองหนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 16 ตำบล 181 หมู่บ้าน ประชากร จำนวน 148,238 คน สัดส่วน เพศชาย : หญิง = 46.74 : 53.26

  3. แผนที่ อ.เมืองหนองคาย ต.บ้านเดื่อ สปป.ลาว ต.สีกาย ต.หินโงม สปป.ลาว ต.หาดคำ อ.โพนพิสัย ต.ในเมือง ต.มีชัย สปป.ลาว ต.กวนวัน ต.วัดธาตุ ต.โพธิ์ชัย ต.เมืองหมี ต.หนองกอมเกาะ อ.ท่าบ่อ ต.ปะโค ต.ค่ายบกหวาน ต.เวียงคุก อ.เพ็ญ จ.อุดรธานี ต.พระธาตุบังพวน ต.สองห้อง อ.สระใคร

  4. หน่วยงานสาธารณสุข/สถานบริการสุขภาพหน่วยงานสาธารณสุข/สถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง สถานีอนามัย 17 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 3 แห่ง รพ.สต.คุณภาพ 12 เครือข่าย โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกเอกชน 54 แห่ง

  5. สถิติชีพอำเภอเมือง จ.หนองคาย อัตราการเกิด 18.75 ต่อพันประชากร อัตราการตาย 6.11 ต่อพันประชากร อัตราการเพิ่ม 12.63 ต่อพันประชากร อัตราการตายทารก 2.20 ต่อพันประชากร อัตราการตายของเด็กต่ำกว่า 5 ปี 3.30

  6. เปรียบเทียบสภาวะสุขภาพประชากร 5 กลุ่ม 58.59 % 53.47 % 40.62 % 35.56 %

  7. ยึดหลักการบริหารที่จะนำไปสู่ความสำเร็จยึดหลักการบริหารที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ P – Planning : การวางแผนกลยุทธ์ O – Organizing : การจัดการองค์กร L – Leadership : ภาวะผู้นำ C – Controlling : การกำกับ ติดตาม และประเมินผล CIPPI model

  8. กระบวนการที่จะต้องดำเนินการกระบวนการที่จะต้องดำเนินการ (ภายในองค์การ) SWOT MATRIX STRUCTURE SYSTEM การนำ กลยุทธ์ ไปปฏิบัติ STRATEGY SHARED VALUE STYLE SKILL STAFF 7 S model

  9. กระบวนการที่จะต้องดำเนินการกระบวนการที่จะต้องดำเนินการ (ภายนอกองค์การ) ECONOMIC POLITICAL PEST model TECHNOLOGY SOCIAL

  10. ทำเฉพาะบทบาทที่ทำได้เท่านั้นทำเฉพาะบทบาทที่ทำได้เท่านั้น • คำนึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก • เพิ่มอิสระในการบริหารงาน • บริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM) • สร้างระบบสนับสนุน คน เงิน และเทคโนโลยี • Good Governance/ถูกต้อง มากกว่าถูกใจ การบริหารภาครัฐ แนวใหม่ ที่จะนำมาใช้ (NPM)

  11. CUP MANAGEMENT ฝ่ายอำนวยการ รพท.หนองคาย ทม.หนองคาย สสอ.เมืองหนองคาย ฝ่ายปฏิบัติการ กลุ่มงาน วสค. (รพ.นค.2) 1 แห่ง ศูนย์บริการ สธ.เทศบาล 3 แห่ง รพ.สต. อ.เมือง 17 แห่ง นสค.(จนท.) / ปชก.ที่ดูแล นสค.= 22 คน ปชก.= 24,850 คน (1 : 1,130) นสค.=10+5 คน ปชก.= 17,982 คน (1 : 1,199) นสค.= 95 คน ปชก.=105,406 คน (1 : 1,110) ปชก.รวม 148,238/นสค. 132 คน อัตรารวม 1 : 1,123 Kickoff 7 เมษายน 2554

  12. การบริหารงบประมาณ โดย สสอ. เป็น Project Manager (P&P) • Fixed Cost/เดือนจัดให้ รพ.สต. ตามสูตร ค่า K (23,000) + ปชก.UC (1) + RN/นวก.(2,000) + ทันตาภิบาล(2,000) รวมเป็นเงิน 7,580,478 บาท • งบ On Top Payment จำนวน 4,174,150 บาท • งบ P4P จำนวน 2,199,986.89 บาท • งบ PP Itemize จำนวน 3,158,036 บาท

  13. การบริหารงบประมาณ โดย สสอ. เป็น Project Manager (P&P) 5. งบ PP Express Demand ใช้ในการจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในภาพรวมของอำเภอ จำนวน 3,890,795 บาท 6. งบค่าเสื่อมระดับปฐมภูมิ (40:30:20) = 3,071,356 : 2,303,517 : 600,000 รวมเป็นเงิน 5,974,873 บาท 7. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จำนวน 6,697,825 บาท 8. งบค่าบริหารจัดการ สสอ. 7 บาท/บัตร เป็นเงิน 826,091 เมื่อปรับเกลี่ยทุกอำเภอแล้วได้รับ 450,345 บาท รวมงบที่บริหารโดย Project Manager = 34,126,488.89 บาท

  14. บทบาทของ Project Managerกับการพัฒนา รพ.สต.คุณภาพกรณีศึกษา: อำเภอเมืองหนองคาย

  15. กรอบความคิด “บริการสุขภาพครบวงจร” นวก./GN ประเมิน วช. เอื้ออาทร อบรม NP จนท. ครบถ้วน จนท. มีกำลังใจ จนท. มีความรู้ ค่าตอบแทนตามปริมาณงานเชิงรุก อบรม 5 เสือปฐมภูมิ จพสช. เรียน GN ทีมงานสาธารณสุข มีสมรรถนะ เรียน SRM นักสุขภาพ ประจำครอบครัว IT/GIS คุณภาพ กองทุนคุณภาพ จนท.:ประชาชน 1:1,250 รพสต. คุณภาพ อปท. ร่วมมือ ระบบส่งต่อ เอื้ออาทร เร่งรัดงานเขตเมือง รพศ./ท. รับงานทุติยภูมิ & ตติยภูมิเต็มที่ การเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ รพช. ต่องานทุติยภูมิแข็งขัน ประชาชนมีสุขภาวะ

  16. เร่งรัด รพสต.คุณภาพ เติมคนครบทีม ( 1:1,250) รวม 6-9 คน ประชากรเป้าหมาย 7,000-10,000 คน มีนักสุขภาพครอบครัวของประชาชน1250คนชัดเจน มี 5 เสือปฐมภูมิครบทีม ระบบสื่อสารคอมพิวเตอร์ GIS สมบูรณ์ มีส่วนร่วมบริหาร กองทุนสุขภาพ และ PP เต็มที่

  17. การจัด รพ.สต.คุณภาพ ภาพเก่า จัดเป็น 16 เครือข่าย (17 สอ.) **ขาดบุคลากร 11 คน เป็น NP 3 คน และ จนท.สธ. 8 คน **วง ปชก. ไม่เข้าเกณฑ์ 11 แห่ง

  18. รพ.สต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.คุณภาพ จำนวน 12 เครือข่าย (17 สอ.) **เติมเต็มบุคลากรอีก 10 คน - NP 2 คน (จาก รพ.หนองคาย) (ธันวาคม 2553) - นวก.สธ. 8 คน (จาก สสจ.หนองคาย) Re-Structure

  19. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.นาฮี ปชก. 7,211 คน บุคลากร 6 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,202 สัดส่วน NP 1:3,606

  20. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย ปชก. 7,027 คน บุคลากร 6 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,171 สัดส่วน NP 1:3,514

  21. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพสต.หินโงม-ท่าจาน-สีกาย ปชก. 8,301 คน บุคลากร 10 คน (NP 3 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:830 สัดส่วน NP 1:2,767

  22. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพสต.มีชัย-โพธิ์ชัย ปชก. 12,165 คน บุคลากร 11 คน (NP 3 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,106 สัดส่วน NP 1:4,055

  23. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.เมืองหมี-กวนวัน ปชก. 8,848 คน บุคลากร 9 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:984 สัดส่วน NP 1:4,424

  24. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพสต.เวียงคุก-ปะโค ปชก. 12,665 คน บุคลากร 10 คน (NP 4 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,267 สัดส่วน NP 1:3,166

  25. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพสต.วัดธาตุ ปชก. 9,409 คน บุคลากร 8 คน (NP 3 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,177 สัดส่วน NP 1:3,136 **สสจ.จัดสรร นวก.สธ. 2 คน@8 ธค.53

  26. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.หาดคำ ปชก. 8,306 คน บุคลากร 7 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,187 สัดส่วน NP 1:4,153 **สสจ.จัดสรร นวก.สธ. 2 คน@8 ธค.53

  27. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพสต.บ้านเดื่อ ปชก. 7,477 คน บุคลากร 6 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,247 สัดส่วน NP 1:3,739 **สสจ.จัดสรร นวก.สธ. 1 คน@8 ธค.53

  28. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.ค่ายบกหวาน ปชก. 6,971 คน บุคลากร 6 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,162 สัดส่วน NP 1:3,486 **สสจ.จัดสรร นวก.สธ. 1 คน@8 ธค.53

  29. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.โพนสว่าง(สองห้อง) ปชก. 6,312 คน บุคลากร 7 คน (NP 2 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:902 สัดส่วน NP 1:3,156 **รับย้าย RN จาก รพ.นค. 1 คน@8 ธค.53

  30. รพสต.คุณภาพ อำเภอเมืองหนองคาย รพ.สต.พระธาตุบังพวน ปชก. 10,714 คน บุคลากร 9 คน (NP 3 คน) สัดส่วนบุคลากร 1:1,191 สัดส่วน NP 1:3,572 **สสจ.จัดสรร นวก.สธ. 1 คน@8 ธค.53 **รับย้าย RN จาก รพ.นค. 1 คน

  31. จากปฏิญญาโพนสว่าง ..สู่การลงมือทำอย่าจริงจัง 19 พ.ย. 53

  32. นักสุขภาพประจำครอบครัวนักสุขภาพประจำครอบครัว ดูแลกลุ่มประชาชนชัดเจนดุจญาติมิตร 1:1,250 รู้สภาวะสุขภาพทุกคนในเครือข่ายโดย GIS มี อสม.ช่วยงาน 1:20 เชื่อมโยงเป็นกลุ่มประจำ เติมใจ เติมสมอง ให้นักสุขภาพเป็นประจำ สร้างทีมงานเข้มแข็งใน รพ.สต. เอาใจใส่ดูแลการส่งต่อสมาชิกในกลุ่มเหมือนญาติ

  33. การสร้างนักสุขภาพครอบครัวการสร้างนักสุขภาพครอบครัว • เป็นเจ้าภาพดูแลกลุ่มประชากรดุจญาติมิตร 1:1,250 • นักสุขภาพครอบครัวรู้สภาวะสุขภาพ และมีข้อมูลประชากรที่ดูแลอย่างชัดเจน • รับผิดชอบ อสม. 1:20 และเป็นเสี่ยวสุขภาพ ดูแลแบบเอื้ออาทร • จัดเวทีในการปรึกษาหารือ และมอบรางวัลแก่ผู้ที่มีผลงานดีเด่นเป็นแบบอย่าง และการครองตน ครองคน ครองงาน

  34. การสร้างนักสุขภาพครอบครัว (ต่อ) 5. จัดให้มีการประชุม พบปะในส่วนของ จนท. ทีมที่ ปรึกษา และภาคีเครือข่ายใน รพ.สต. เดือนละ 1 ครั้ง 6. มีระบบเครือข่ายส่งต่อที่สะดวก มีประสิทธิภาพ และสร้างความพึงพอใจ เอื้ออาทร เปรียบเสมือน หนึ่งตึกในรั้วโรงพยาบาลเดียวกัน

  35. การสร้างขวัญกำลังใจ • เน้นประเมินจากงานที่ทำ โดยวัดความสำเร็จจากผลงานที่ดูแลประชาชน 1:1,250 โดยให้มีความสะดวก รวดเร็ว ตั้งแต่ระดับอำเภอ จังหวัด และควรมีระบบการรายงานความก้าวหน้าของการประเมิน • สร้างระบบค่าตอบแทนเชิงรุก โดยเหมาจ่าย 20 บาท/หัวประชากรที่รับผิดชอบ เช่น รับผิดชอบประชากร 1,250 คน จะได้รับค่าตอบแทนเชิงรุก เป็นเงิน 25,000 บาท/ปี โดยวัดผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก **สำหรับการให้บริการที่เด่นชัด เช่น การดูแลหญิงตั้งตามเกณฑ์คุณภาพ จะได้ 500 บาท/บาท **ปรับอัตราค่าตอบแทนเชิงรุกเป็น 1.5 เท่า เช่น จาก 600 บาท เป็น 900 บาท **หากมีโครงการพิเศษที่ต้องดำเนินการ ให้เบิกจ่ายตามระเบียบ

  36. การเติมเต็มความรู้เพื่องานชุมชนการเติมเต็มความรู้เพื่องานชุมชน • จัดทีมนักสุขภาพครอบครัว ตามความเชี่ยวชาญ 5 เสือปฐมภูมิ โดยให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำงานทุก รพ.สต.คุณภาพเดือนละ 1 ครั้ง • สร้าง อสม.เชี่ยวชาญ 5 ด้าน ตามเสือปฐมภูมิ โดยจัดให้มีโรงเรียน อสม.ใน รพ.สต.คุณภาพ ทุกเดือน พร้อมจัดการประกวดผลงาน อสม.เชี่ยวชาญ 5 ด้าน เพื่อเป็นแบบอย่าง ปีละ 1 ครั้ง และจัดหารางวัลให้ตามสมควร โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วม (อปท. วัด รร. ชมรมสุขภาพ) • สร้างชมรมด้านสุขภาพต้นแบบ และให้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

  37. การสนับสนุน รพ.สต. คุณภาพ 1. สนับสนุนอัตรากำลังบุคลากรให้เพียงพอ 2. ผลักดันและกำกับงบประมาณให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 3. สนับสนุนการมีและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รวมทั้งการใช้ระบบ IT ในการส่งต่อเอื้ออาทร 4. บริหารจัดการเครื่องมืออุปกรณ์ให้ตอบสนองต่อ รพ.สต. เช่น การจัดให้มี Note Book ร้อยละ 82.4 ของ จนท. และ MC ร้อยละ 92.7 ของ จนท.รวมทั้งรถยนต์(12 คัน) รถสามล้อเครื่อง(1 คัน) เป็นต้น 5. ให้สามารถเบิกจ่ายค่าโทรศัพท์(SIM สุขภาพ) ได้ 300 บาท/คน/เดือน

  38. นสค? รู้ว่าตนทำอะไรได้ และทำไม่ได้ รู้ว่าใครทำได้ จัดการให้ปัญหาได้รับการกระทำ ทำได้ ทำ ทำไม่ดี ชวนคนมาทำ ทำไม่ได้ พาไปให้ทำ 28 ธันวาคม 2553 CLICK OFF นสค

  39. C A N D O + S T W C = กลุ่มเด็ก S = กลุ่มนักเรียน A = กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ T = กลุ่มวัยรุ่น N = กลุ่มโรคเรื้อรัง W = กลุ่มวัยทำงาน D = กลุ่มผู้พิการ O = กลุ่มผู้สูงอายุ

  40. พัฒนาการ 0-5 ปี C TB I2 Stroke ดญ.แม่ วัยเรียน 6-14 AIDS ยาเสพติด A รายบุคคล ฆ่าตัวตาย เด็กซิ่ง วัยรุ่น 15-20 อ้วน มั่วสุม CA Breast วัยทำงาน 20-60 N CA Cx D DM/HT ติดสังคม ช่วยดู นสค 1:1,250 ป 1:20 อ 12:1 Dr สูงอายุ >60 O พิการ (ระดับดูแล) ติดบ้าน ตัวช่วย ช่วยบริบาล ติดเตียง ฟันเทียม COPD (บุหรี่) สร้างสุขภาพ บ้าน ตับ (พยาธิ/เหล้า) อาหารปลอดภัย ร้านชำ สิ่งแวดล้อม MCH ชุมชน ปลอดโรค ปัญหา? ปัญหา? ปัญหา? รร./วัด เอื้อคนพิการ/ชรา ลานกีฬา ลด ละ เลิก เหล้า/บุหรี่ หวาน มัน เค็ม

  41. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO ข้อมูล ณ 1 มีนาคม 2554 ร้อยละปัญหาสุขภาพกลุ่ม C (เกณฑ์ไม่เกิน 5%)

  42. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO ร้อยละปัญหาสุขภาพกลุ่ม A ผลงาน ฝากครรภ์<12 wks.=67.57% ANC4คุณภาพ=97.72% PNC2ครั้ง=99.24% เกณฑ์ ฝากครรภ์<12wks. ≥ 50% ANC/PNC ≥ 95%

  43. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนผู้ป่วยจำแนกรายโรคกลุ่ม N

  44. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนกลุ่ม D จำแนกตามความเร่งด่วนในการให้ความช่วยเหลือ (2.94%) (15.79%) ผู้พิการ 1,121 คน ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้พิการ และได้รับการช่วยเหลือจากส่วนราชการและ อปท. ทุกราย (81.27%)

  45. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนกลุ่ม O จำแนกตามภาวะสุขภาพ (0.98%) (4.0%) (62.10%)

  46. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนกลุ่ม S ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง

  47. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนกลุ่ม T ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง

  48. ข้อมูลภาวะสุขภาพกลุ่ม CANDO จำนวนกลุ่ม W จำแนกตามปัญหาสุขภาพ (17.75%) (42.75%) (39.50%)

  49. ความโดดเด่นของ CUP เมืองหนองคาย • ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญในระดับสูงสุด • ไร้รั้ว “ทั้ง รพท. และ รพ.สต. อยู่ในรั้วเดียวกัน” • เอื้ออาทร ทั้ง คน เงิน และงาน บริษัทแม่ให้การสนับสนุนทั้งคน และงบ PP อย่างต่อเนื่อง • ให้คำปรึกษา ออกร่วมปฏิบัติ ประชุมสัญจรใน รพ.สต.

  50. 24 มกราคม 2554

More Related