90 likes | 223 Vues
คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม การทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552. ควรทดสอบร่วมกันโดยคณะ ผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทนจาก สสอ. และ ท้องถิ่น/ตำบลที่จะทำการทดสอบนี้ ตามที่คัดเลือกไว้แล้วหรือเลือกใหม่ ควรจัดประชุมที่ สนง.สสจ. โดยถือเป็นงานปกติ
E N D
คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรมการทดสอบแล้วเสร็จภายในมิถุนายน 2552 • ควรทดสอบร่วมกันโดยคณะ ผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทนจาก สสอ. และ ท้องถิ่น/ตำบลที่จะทำการทดสอบนี้ ตามที่คัดเลือกไว้แล้วหรือเลือกใหม่ ควรจัดประชุมที่ สนง.สสจ. โดยถือเป็นงานปกติ • ควรเชิญ สสจ.เป็นประธานเปิดประชุม และสื่อสารกับท่านตั้งแต่ต้นและตลอดการทำงาน • เนื่องจากผู้แทนมีมาจากทุกระดับ ผลงานที่ได้จะสามารถนำไปทดลองใช้ที่ท้องถิ่น/ตำบลได้เลย เป็นการย่นระยะเวลาทำงาน โดยไม่ต้องไม่ต้องทำซ้ำที่อำเภอ ตำบลอีก • ถ้าจังหวัดมีจุดหมายปลายทางและ SLM รวมทั้งกลยุทธ์สำคัญอยู่แล้ว ให้ปรับของจังหวัดให้สอดคล้องกับของกรม/เขตฯ แล้วใช้ของจังหวัดเป็นหลักในขั้นตอนต่อไป เช่นเดียวกับกลยุทธ์สำคัญ • เริ่มโดยกำหนดประเด็นที่จะใช้แผนที่ฯ ประเด็นดังกล่าวอาจจะเลือกจากงานที่เป็นนโยบายของกรมอนามัยหรือกรมควบคุมโรคก็ได้ เช่น “เรื่องเบาหวาน ความดัน” หรืออื่นๆ การทำงานครั้งนี้จะทำเพียงประเด็นเดียว • นิยามกล่องบนสุด (ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)ให้ชัดเจน โดยพิจารณาว่า ตามประเด็นที่กำหนดนั้น “ประชาชน” หมายถึงใคร (กลุ่มต่างๆที่นิยามไว้ในเรื่องเบาหวาน ความดัน) และ “พฤติกรรม” ที่ต้องการให้กลุ่มต่างๆประพฤติคืออะไร ความขัดเจนตรงนี้จะช่วยให้การนิยามตาราง 11 ช่องทำได้ง่ายและถูกต้องขึ้น
คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม(ต่อ) 7. กำหนดเส้นทาง Road Map คือเส้นทางที่สะดวกที่สุดจากกล่องตั้งต้นด้านล่าง ไปถึงกล่องปลายทางบนสุด (ดูตัวอย่างจากภาพชุดนี้ ) 8. ต่อไป สร้างตาราง 11 ช่อง และแผนปฏิบัติการ ตารางนี้ควรสร้างได้ครบทุกช่องเนื่องจากมีผู้แทนมาจากทุกระดับ เป็นงานหลักสำหรับการประชุม แต่ให้สร้างเฉพาะกล่องที่กำหนดโดย Road Map เท่านั้นในระยะแรกนี้ 9. สำหรับกลยุทธ์และกิจกรรมสำคัญที่มาจากกรมฯเป็นเพียงรูปแบบทั่วไปที่ให้ไว้เป็นแนวทางเท่านั้น กลุ่มควรพิจารณาทบทวนให้เหมาะสมกับบริบทก่อนใช้ 10. แยก 2 กลุ่มตามลักษณะผู้เข้าประชุม (กลุ่มที่มาจากตำบล/ท้องถิ่น และกลุ่มจากจังหวัด/อำเภอรวมกัน) กลุ่มที่มาจากจังหวัดเป็นกลุ่มหลักที่จะพิจารณามาตรการทางวิชาการในตาราง 11 ช่องส่วนกลุ่มท้องถิ่น/ตำบลจะเป็นกลุ่มหลักที่พิจารณามาตรการทางสังคม 11. กลุ่มจังหวัดสามารถพิจารณางานระดับประชาชนได้ ถึงแม้ว่าระดับนี้ งานส่วนใหญ่จะมาจากมาตรการทางสังคม แต่มาตรการดังกล่าวต้องมีพื้นฐานทางวิชาการ ดังนั้น ฝ่ายวิชาการต้องกำหนดมาตรฐานของงานของประชาชนไว้ในช่อง 4 ของตารางฯด้วย ส่วน KPI ระดับประชาชนได้จากมาตรการทางสังคม 12. ฝ่ายวิชาการทุกฝ่าย รวมทั้งสุขภาพจิต อย.ที่ สนง. สสจ. ควรมีส่วนนิยามตาราง 11 ช่องเพื่อความสมบูรณ์ทุกแง่มุมของประเด็นที่พิจารณานั้น
คำแนะนำการทดสอบ SLM ร่วมสองกรม(ต่อ) 13. เมื่อทุกกลุ่มทำงานเสร็จ ให้นำผลมาสรุปรวมเป็นงานชิ้นเดียวกัน นำเสนอ สสจ.อนุมัติ • ต่อไป สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) โดยนำกิจกรรมสำคัญ (กลุ่มจังหวัดเป็นผู้เลือกจากตาราง 11 ช่อง)มาแทนที่กล่องเป้าประสงค์ใน SLM เสริมด้วยกิจกรรมอื่นๆที่เห็นว่าจำเป็นที่จะช่วยให้ทำงานสำเร็จดีขึ้น แล้วจัดรูปแบบของแผนปฏิบัติการให้ดูง่าย (ดูตัวอย่าง) • กำหนด Milestone โดยระบุวันที่ที่กิจกรรมกล่องใดกล่องหนึ่งจะแล้วเสร็จ ให้พิจารณาได้จากช่องที่แสดงระยะเวลาของงานในตาราง 11 ช่อง กล่องที่เป็นกิจกรรมเสริมไม่ต้องกำหนด Milestone • ในการกำหนดงานของช่อง 4 หรือ 5 อาจพบว่าต้องการงานที่มาจากกล่องอื่นที่ไม่ได้กำหนดไว้โดย Road Map ก็ได้ เช่น งานด้านการสื่อสาร ก็ให้กำหนดได้ตามที่เห็นสมควร หมายความว่า งานสื่อสารมีน้ำหนักเป็นเพียงส่วนหนึ่งของกิจกรรม แต่ไม่ถึงขั้นเป็นวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ • เมื่อถึงระยะต่อไป หากประชาชนเริ่มปรับพฤติกรรมแล้ว ให้ตั้งต้นวางงานของกล่องอื่นๆให้เต็มทั้งแผนที่ SLM ทั้งนี้ เพื่อประกันความล้มเหลวในภายหลัง • ในระหว่างปฏิบัติงาน ให้ผู้ปฏิบัติติดตามดูความสำเร็จตามตัวชี้วัด หากส่อเค้าว่ากิจกรรมใดจะไม่ได้ผล ให้เปลี่ยนงานของกิจกรรมนั้น หรือเปลี่ยนกิจกรรมใหม่
ผังจุดหมายปลายทางกระบวนการทำงานร่วมระหว่างองค์กรในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค) ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) (ภายใต้แนวคิดการเชื่อมประสานองค์กรภาคีเครือข่ายทุกระดับเพื่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 1 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงเส้นทาง Road Map (เส้นสีแดง)สำหรับงานระยะแรก 2 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงกลยุทธ์สำคัญ (*) และกิจกรรมสำคัญ (-) 3 *จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ - กำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม *พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนชุมชน -ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนฯ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน เส้นสีแดงคือ Road Map • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • จัดทำข้อตกลงร่วม อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทเครือข่ายองค์กรชุมชน -สร้างเครือข่าย ทำข้อตกลงร่วมสื่อสารต่อเนื่อง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ * สนับสนุนส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม - สร้างนวัตกรรมกระบวนการร่วมกับภาคี -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ *พัฒนาระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ -จัดเวทีสานเสวนาสื่อมวลชน *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อ การทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน *พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัยเป็นจริง -สร้างกระบวนการจัดการข้อมูล บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม *สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีม -สร้างจริยธรรมการทำงานร่วมกัน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค แสดงกลยุทธ์และกิจกรรมสำคัญเฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map 4 *จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ - กำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • จัดทำข้อตกลงร่วม อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม พื้นฐาน
(ตัวอย่าง)แผนปฏิบัติการ สร้างจาก SLM เฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map สำหรับระยะที่ 1 ของการปฏิบัติการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แสดงกิจกรรมสำคัญที่จะทำ (สีขาว) พร้อมงาน (สีเหลือง) และ Milestone (สีเขียว) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM Milestone 4 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ Milestone 5 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ สร้างมาตรการทางสังคม *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน -ฝึกอบรม Milestone 3 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ -จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ -นำเสนอผู้บริหาร -ประกาศใช้ จัดเวทีประชาคม งานสำคัญ กำหนดโดยผู้ปฏิบัติ -ทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น หรือปรับแผนงานโครงการเดิมที่มีอยู่แล้ว เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร หรือปรับแผนตำบลเดิม(สธ/ท้องถิ่นร่วมกัน) กิจกรรมเสริม -สร้างแผนปฏิบัติการตามประเด็น -วางตัวผู้รับผิดชอบ Milestone 2 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ สร้างกระบวนการติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง -สอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขปสำหรับอำเภอ ตำบล -กำหนดประเด็น ปรับ SLM ร่วม 2 กรม สร้างตาราง 11 ช่อง สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ SLM ให้ผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ/ตำบล Milestone 1 แสดงวันที่ๆแล้วเสร็จ