1 / 22

สุจิตรา อังคศรีทองกุล 19 ตุลาคม 2552

การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เสริมสร้าง สุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ ภัย สุขภาพ. สุจิตรา อังคศรีทองกุล 19 ตุลาคม 2552. ข้อตกลงความร่วมมือการเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย.

tangia
Télécharger la présentation

สุจิตรา อังคศรีทองกุล 19 ตุลาคม 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สุจิตรา อังคศรีทองกุล 19ตุลาคม 2552

  2. ข้อตกลงความร่วมมือการเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย วันที่ 2 มิถุนายน 2552 ณ สะเมิงรีสอร์ท อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

  3. ข้อตกลงความร่วมมือกรมควบคุมโรคและกรมอนามัยข้อตกลงความร่วมมือกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย • ให้มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง • ให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานร่วมอย่างจริงจัง ถือเป็นนโยบาย และภารกิจหนึ่งของทุกองค์กรในสังกัดกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย • ให้มีการนำแนวทางนี้ปฏิบัติร่วมกันครอบคลุมทุกระดับเขตและถ่ายระดับไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม • ให้มีการเสริมสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันที่ดีตลอดไป วันที่ 2 มิถุนายน 2552 ณ สะเมิงรีสอร์ท อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

  4. ผังจุดหมายปลายทางการดำเนินงานร่วมระหว่างองค์กรในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552

  5. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมสองกรม ภายใน พ.ศ. 2553 (สร้างเมื่อ 2 มิถุนายน 2552) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  6. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การดำเนินงานร่วมระหว่างองค์กรในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 มีความเข้มแข็งและยั่งยืนในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในพื้นที่ 6 1 เปิดงานใช้กระบวนการสร้างบทบาทประชาชน (ทำที่ตำบล) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กำหนด SLM ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน นิยามพฤติกรรมของประชาชน 5 ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ 2 ปรับใช้แผนปฏิบัติการกับโครงการของ อบต. (ทำที่อบต.) • กำหนดกระบวนการสำคัญ • สร้างแผนปฏิบัติการ (บางส่วน) อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง พัฒนากลยุทธ์สำคัญสำหรับยุทธศาสตร์ต่างๆในSLM กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง จัดทำแผนงาน โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน 4 กำหนดประเด็น ปรับแผนปฏิบัติการ วางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ สร้างรูปแบบการดำเนินงานร่วมกับท้องถิ่น สร้างเส้นทางด่วนสีน้ำเงินหนา ภายใน 1 เดือน องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ข้อมูลถูกต้องทันสมัย เป็นจริง พื้นฐาน 3 บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม • สอนการสร้างและใช้ SRM • พัฒนากระบวนการในแผนปฏิบัติการเป็นกิจกรรมงานและอื่นๆตามตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) สร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(ทิศทางและแผนงาน)

  7. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมกรมอนามัยและควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ทำบันทึกความร่วมมือ หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  8. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วม แสดงการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เข้าสู่ระบบ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • จัดทำข้อตกลงร่วม อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  9. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วม แสดงกลยุทธ์สำคัญ (*) และกิจกรรมสำคัญ (-) ทั้งฉบับ *จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ -- กำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม *พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนชุมชน --ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนฯ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... --สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ • * สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร • - สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำหรับตำบล อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทเครือข่าย องค์กรชุมชน --สร้างเครือข่าย ทำข้อตกลงร่วม สื่อสารต่อเนื่อง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน ---จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ --สร้างกระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ * สนับสนุนส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม - สร้างนวัตกรรมกระบวนการ ร่วมกับภาคี --จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ *สร้างเสริมทักษะการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) - - สอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SLM) การสร้างตาราง11ช่อง และการสร้างแผนปฏิบัติการ *พัฒนาระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ ---จัดเวทีสานเสวนาสื่อมวลชน องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อ การทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน *พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัยเป็นจริง --สร้างกระบวนการจัดการข้อมูล บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม *สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีม -สร้างจริยธรรมการทำงานร่วมกัน

  10. แผนปฏิบัติการ สร้างจาก SLM เฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map สำหรับระยะที่ 1 ของการปฏิบัติการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แสดงกิจกรรมสำคัญที่ควรทำ ส่วนงานหรือการกระทำกำหนดโดยคณะผู้รับผิดชอบที่กำหนดตามที่ตกลงกัน ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM ประชาชน จัดเวทีสมัชชาสุขภาพเพื่อสร้างมาตรการทางสังคม สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน จัดเวทีประชาคมทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น ภาคี เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร (สธ/ท้องถิ่น) กระบวนการ สร้างแผนปฏิบัติการ ตามประเด็นวางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) -1.สอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขป -2.ปรับ SLM ร่วม 2 กรมตามประเด็น สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) พื้นฐาน

  11. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอะไร? (ยุทธศาสตร์=การเปลี่ยนแปลง) เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงอย่างไร? แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด

  12. การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่นการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ • SRM + SLM • รายประเด็น • จุดหมายปลายทางSRM / SLM • ของจังหวัด • (ถ้ามี) • จุดหมายปลายทาง • SLMของอำเภอ • ตารางนิยามฯ • 11 ช่อง(บางส่วน) • จุดหมายปลายทาง+ SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร เติมเต็มตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล

  13. ตัวอย่าง แผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) ระดับประชาชน (จุดแตกหักอยู่ที่นี่) ต้องการความต่อเนื่องจึงจะได้ผล กลุ่มเป้าหมาย ปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/ พฤติกรรม CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ดำเนินมาตรการทางสังคม (กิจกรรมสำคัญ) สร้างโครงการชุมชน (กิจกรรมสำคัญ) ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง / เฝ้าระวัง CSF(หัวใจของความสำเร็จ) ประชาชน องค์กรใน / นอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี อปท.ขับเคลื่อน สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการ

  14. แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ โรงเรียน นวัตกรรมชุมชน กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ • อปท. • สาธารณสุข องค์กรต่างๆใน/นอก พื้นที่ กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ สปสช. (ทีมวิทยากรเขต) ท้องที่อำเภอ

  15. ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1.ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ( งานพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมฯ ประกันสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ) ถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลัก คือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน (3) การจัดการนวัตกรรม 2.คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง 3.ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4.ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขต ที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) • สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป • กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนได้อย่างน้อย 3 ใน 5 โครงการต่อไปนี้ (1) โครงการเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (2) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) โครงการควบคุมโรคติดต่อ (4) โครงการเกี่ยวกับอาหารหรือโภชนาการ (5) โครงการอนามัยแม่และเด็กหรืออนามัย โรงเรียน

  16. ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยให้ถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง ถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการมอบอำนาจจากสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น อาจทำเป็นข้อตกลงในระดับจังหวัดถ้าจำเป็น 9.หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา เนื่องจากได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ: ข้อเสนอจาก อจ.อมร นนทสุต • ประชุมวิชาการกระทรวง สธ.ที่อุดรธานี วันที่ 27 กันยายน 2552 • ที่ สปสช.19/0665 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2552

  17. เงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำเงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำ • คัดเลือกกองทุนฯที่จะเป็นต้นแบบให้แล้วเสร็จ อำเภอละ 1 ตำบล ภายในตุลาคม 2552 • พัฒนากองทุนฯที่คัดเลือกไว้ (สร้างนวัตกรรม) โดยประชาชน ทำให้ได้โครงการอย่างน้อย 3 โครงการ • ทำการประเมินกองทุนฯที่สามารถเป็นครูได้ ภายในมิถุนายน 2553 • เปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกองทุนฯสุขภาพตำบลสำหรับ ผู้ปฏิบัติต่างตำบล และฟื้นฟู สำหรับผู้ปฏิบัติภายในตำบล ตั้งแต่กรกฎาคม 2553

  18. การประเมินองค์กรเพื่อสร้างต้นแบบ การพัฒนาและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การประเมินเพื่อค้นหา สิ่งที่สำคัญต่อความสำเร็จ ขององค์กรในการพัฒนาและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อให้ได้บทเรียนในการพัฒนาองค์กรต้นแบบ

  19. ทางเลือกในการประเมิน • สิ่งที่สำคัญต่อการเกิดขึ้นและดำรงอยู่ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ? • กระบวนการที่นำไปสู่ความสำเร็จ ? • คุณค่าที่เกิดกับชุมชน/ประชาชน ? ข้อดี มีความชัดเจนในการพัฒนา ข้อเสีย มีความเสี่ยงหากเลือกองค์กรเพื่อการประเมินที่ไม่เหมาะสม

  20. ขั้นตอนการประเมิน ขั้นที่ 1 ตัดสินใจว่าจะประเมินอะไร ขั้นที่ 2 วางแผนโครงการประเมิน ขั้นที่ 3 ดำเนินโครงการประเมิน ขั้นที่ 4 ทำรายงานแสดงผลการประเมิน พร้อมข้อเสนอแนะ

  21. วาดภาพความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์ต่างๆในการจัดตั้งและดำเนินงานตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จะได้ภาพระบบ (ควรเลือกประเมินแผนที่ SLM รายประเด็น) • ประเมินกระบวนการที่อยู่ในเส้นทางหลักที่นำไปสู่ ความสำเร็จ (คุณค่าต่อประชาชน) • เจาะลึกเฉพาะกระบวนการที่น่าจับตาเป็นพิเศษ • ขั้นตอนสุดท้าย ศึกษาอุปสรรคและปัจจัยเอื้อ วิเคราะห์การพัฒนาและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์

  22. สวัสดี

More Related