1 / 20

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 3

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 3. อาจารย์ชลาลัย หาญเจนลักษณ์. สถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย. การพัฒนาอุตสาหกรรม. ตั้งโรงงาน. อุบัติเหตุและการเจ็บป่วย. พัฒนาเทคโนโลยี. พัฒนางานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.

Télécharger la présentation

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐานBASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 3 อาจารย์ชลาลัย หาญเจนลักษณ์

  2. สถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาอุตสาหกรรม ตั้งโรงงาน อุบัติเหตุและการเจ็บป่วย พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนางานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

  3. ปัญหางานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1. กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว (Developed Countries) ด้านจิตใจ และสังคม 2. กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา (Developing Countries) ด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม 3. กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา (Under Develop - Countries)

  4. สถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรมสถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรม * แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉ. 2 ปัญหาสุขภาพทั่วไป ฉ. 2 ประสบอันตราย 221 คน ฉ. 3 ประสบอันตราย 524 คน 2517 (กองทุนเงินทดแทน ) 3,690 คน 2522 (21 จ.) 24,419 คน

  5. สถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรมสถานการณ์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรม แหล่งข้อมูลที่ดีที่สุด * การประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน คือ สำนักงาน (กองทุนเงินทดแทน และประกันสังคม) * สถานการณ์สภาพแวดล้อมในการทำงาน คือ สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน / กองอาชีวอนามัย

  6. จำนวนผู้มีงานทำและระดับการศึกษาจำนวนผู้มีงานทำและระดับการศึกษา ผู้มีงานทำทั้งหมด 32,137,400 คน อยู่ในภาคอุตสาหกรรม 6,610,200 คน (20.6 %) * 71.37 % = 22,937,200 คน มีระดับความรู้ต่ำมาก

  7. จำนวนผู้มีงานทำในภาคอุตสาหกรรมและระดับการศึกษาจำนวนผู้มีงานทำในภาคอุตสาหกรรมและระดับการศึกษา

  8. การกระจายสถานประกอบการการกระจายสถานประกอบการ

  9. อัตราการประสบอันตราย/1,000 คน และอัตราตาย/100,000 คน

  10. ลักษณะของสภาพแวดล้อมที่คนต้องสัมผัส 1. สภาพแวดล้อมของชุมชนหรือ ทั่วๆไป 2. ในสถานที่ทำงาน *** 3. ภายในบ้าน 4. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

  11. สภาพแวดล้อมในการทำงาน (Workplace Environment) ด้านกายภาพ ด้านเคมี คน ด้านชีวภาพ เออร์โกโนมิกส์

  12. อัตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน (Workplace Environmental Hazards) อันตราย ด้านกายภาพ ด้านเคมี งาน คน ด้านชีวภาพ เออร์โกโนมิกส์ โรคจาก การทำงาน

  13. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ(Physical Environmental Hazards) * เสียง (Noise) * แสงสว่าง (Lighting) * รังสี (Radiation) * การสั่นสะเทือน (Vibration)

  14. อัตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ(Physical Environmental Hazards) * ความร้อน (Heat) * ความเย็น (Cold) * ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ (Abnormal Pressure)

  15. สภาพแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environmental Hazards) * กลุ่มสารเคมีที่เป็นพิษ ก๊าซพิษ สารประกอบไฮโด คาร์บอน ตัวทำละลาย * ฝุ่นละอองที่ทำให้เกิดโรคปอด ซิลิโคซิส แอสเบสโตซีส บิสซิโนซีส โรคปอดอื่นๆ * สารเคมีที่ก่อมะเร็ง

  16. สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ(Biological Environmental Hazards) เชื้อโรคต่างๆ * เชื้อไวรัส * เชื้อรา * เชื้อแบคทีเรีย ก่อให้เกิดโรค เช่น วัณโรค โรคปอดชาวนา

  17. เออร์โกโนมิกส์ (Ergonomics) หรือ การยศาสตร์ หมายถึง เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อที่จะปรับปรุงให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และ คนมีสุขภาพอนามัยดี --------วิทยาศาสตร์ชีวภาพ + วิศวกรรม------------

  18. การประเมินอันตรายจากสภาพแวดล้อมการทำงานการประเมินอันตรายจากสภาพแวดล้อมการทำงาน สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยในการทำงาน ศักยภาพเชิงอันตรายค่าตัวเลขปริมาณ สิ่งแวดล้อมการทำงาน

More Related