1 / 27

โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

สื่อการเรียนรู้ CAI. เสียงติ๊กต๊อก. อะไรเอ่ย ?. โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร. เลือกรายการที่ต้องการ. จุดประสงค์. บทเรียน. แบบฝึกหัด. ผู้พัฒนาบทเรียน. ออกจากโปรแกรม. ผู้พัฒนาบทเรียน. นางสาวศิริรัตน์ หนูเสริม ครู คศ. 1 โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์

nathan-hull
Télécharger la présentation

โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สื่อการเรียนรู้ CAI เสียงติ๊กต๊อก อะไรเอ่ย ? โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

  2. เลือกรายการที่ต้องการ จุดประสงค์ บทเรียน แบบฝึกหัด ผู้พัฒนาบทเรียน ออกจากโปรแกรม

  3. ผู้พัฒนาบทเรียน นางสาวศิริรัตน์ หนูเสริม ครู คศ. 1 โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร กลับหน้าหลัก

  4. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที ได้ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน 2. บอกเวลาเป็นชั่วโมง และนาที ได้ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน กลับหน้าหลัก

  5. แผนผังความคิด การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกเวลา ส่วนประกอบของนาฬิกา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การเขียนบอกเวลา เวลา การอ่านตารางเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การเขียน มาตราเวลา การบันทึกเหตุการณ์ หรือ กิจกรรม การอ่าน การเปลี่ยนหน่วยเวลา ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  6. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  7. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  8. นาฬิกาเป็นเครื่องมือที่ใช้บอกเวลา ซึ่งนาฬิกาแต่ละเรือนจะมีตัวเลขบอกเวลา จาก 1 ถึงเลข 12 เข็มสั้นจะบอกเวลาเป็นชั่วโมง เข็มยาวจะบอกเวลาเป็นนาที ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  9. ส่วนประกอบนาฬิกา ตัวเลขบอกเวลา 0 55 5 10 50 เข็มวินาที เข็มสั้น 45 15 เวลาเป็นนาที เข็มยาว 20 40 25 35 30 ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  10. ส่วนประกอบนาฬิกา 1. เข็มสั้น ใช้บอกเวลาเป็นชั่วโมง2. เข็มยาว ใช้บอกเวลาเป็นนาที3. เข็มวินาที ใช้บอกเวลาเป็นวินาที4. ตัวเลข 1 ถึง 12 ใช้บอกเวลาเป็นนาฬิกา นาที ตามเข็มของนาฬิกา ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  11. การบอกเวลา การบอกเวลาจะแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ก่อนเที่ยงวันเวลาก่อนเที่ยงวันจะเริ่มตั้งแต่ 00.01 นาฬิกาไปจนถึง เวลา 12.00 นาฬิกาหลังเที่ยงวันเวลาหลังเที่ยงวันจะเริ่มตั้งแต่ เวลา 12.01 นาฬิกา ไปจนถึง เวลา 24.00 นาฬิกา ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  12. ก่อนเที่ยงวัน หลังเที่ยงวัน สามโมงเย็นหรือ สิบห้านาฬิกา ตีสามหรือ สามนาฬิกา แปดโมงครึ่งหรือ แปดนาฬิกา สามสิบนาที สองทุ่มครึ่งหรือ ยี่สิบนาฬิกา สามสิบนาที ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  13. การบอกเวลาเป็นนาที การบอกเวลาเป็นนาที ดูว่าเข็มยาวชี้ที่ใดบนหน้าปัดนาฬิกา ซึ่งระหว่างตัวเลขบนหน้าปัดนาฬิกา แบ่งเป็นช่องเล็กๆ 5 ช่อง ช่องละ 1 นาที เข็มยาวเดินไป 1 ช่องเล็ก เป็นเวลา 1 นาทีเข็มยาวเดินไป 1 ช่องใหญ่ เป็นเวลา 5 นาทีเข็มยาวเดินไป 1 รอบ เป็นเวลา 60 นาที 1 นาที ย้อนกลับ 5 นาที หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  14. การบอกเวลาเป็นนาที 60 นาที 5 นาที 55 นาที 10 นาที 50 นาที 15 นาที 45 นาที 20 นาที 40 นาที 25 นาที 35 นาที 30 นาที ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  15. ก่อนเที่ยงวัน สิบนาฬิกา สิบนาที หลังเที่ยงวัน ยี่สิบสองนาฬิกา สิบนาที ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  16. การเขียนบอกเวลา การเขียนบอกเวลา ใช้จุดคั่นระหว่างเวลาที่บอกเป็นชั่วโมงกับนาที และใช้ น. เป็นอักษรย่อของคำว่า นาฬิกา 10.11 น. 14.24 น. 14.24 น. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  17. กลางวัน กลางคืน เขียน 07.00 น.อ่าน เจ็ดนาฬิกาหรือ เจ็ดโมงเช้า เขียน 19.00 น.อ่าน สิบเก้านาฬิกาหรือ หนึ่งทุ่ม เขียน 15.50อ่าน สิบหน้านาฬิกาสิบหกนาทีหรือ สามโมงห้าสิบนาที เขียน 03.50 น.อ่าน สามนาฬิกาห้าสิบนาทีหรือ ตีสามห้าสิบนาที ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  18. 60 วินาทีเป็น 1 นาที 365 วันเป็น 1 ปี 60 นาทีเป็น 1 ชั่วโมง 12 เดือนเป็น 1 ปี มาตราเวลา 24 ชั่วโมงเป็น 1 วัน 7 วันเป็น 1 สัปดาห์ 52 สัปดาห์เป็น 1 ปี 30 วันเป็น 1 เดือน ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  19. การเปลี่ยนแปลงหน่วยเวลาการเปลี่ยนแปลงหน่วยเวลา การเปลี่ยนหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อยใช้วิธีคูณ จำนวนนาที X 60 = จำนวนชั่วโมง X 60 = จำนวนวัน X 24 = จำนวนสัปดาห์ X 7 = จำนวนเดือน X 30 = จำนวนปี X 12 = จำนวนปี X 52 = จำนวนปี X 365 = วินาทีนาทีชั่วโมงวันวันเดือนสัปดาห์วัน ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  20. การเปลี่ยนแปลงหน่วยเวลาการเปลี่ยนแปลงหน่วยเวลา การเปลี่ยนหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่ใช้วิธีหาร จำนวนนาที ÷ 60 = จำนวนชั่วโมง ÷ 60 = จำนวนวัน ÷24 = จำนวนสัปดาห์ ÷ 7 = จำนวนเดือน ÷ 30 = จำนวนปี ÷ 12 = จำนวนปี ÷52 = จำนวนปี ÷ 365 = วินาทีนาทีชั่วโมงวันวันเดือนสัปดาห์วัน ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  21. การอ่าน และการเขียนบันทึกเหตุการณ์ หรือ กิจกรรม การอ่านเวลาจากบันทึกเหตุการณ์หรือกิจกรรม สามารถอ่านเป็นนาฬิกา หรือนาที หรือใช้ภาษาพูดแทนได้ ส่วนบันทึกเหตุการณ์หรือกิจกรรม ต้องเขียนรายละเอียดให้ชัดเจนทั้งวัน เวลา สถานที่ และเหตุการณ์หรือกิจกรรมที่ได้กระทำไปแล้ว ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  22. กำหนดการเดินทางไปทัศนศึกษาของ ด.ญ. วาสนา ขำดีการเดินทางไปทัศนศึกษาที่ จ. ชลบุรีวันพุธที่ 15 มิถุนายน 2552 7.00 น. ออกเดินทาง 9.00 น. ถึงพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ10.30 น. ทัศนศึกษาที่สวนสัตว์เปิด เขาขียว12.00 น. รับประทานอาหาร13.30 น. เล่นน้ำที่บางแสน15.30 น. เดินทางกลับกรุงเทพฯ ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  23. ตารางการเดินรถไฟจากสถานีกรุงเทพฯ ถึง สถานีราชบุรี สถานี ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  24. การอ่านตารางเวลา รถเร็ว 27 ออกจากสถานีกรุงเทพฯ เวลา 16.10 น. ถึงสถานีนครปฐม เวลา 17.35 น.รถด่วน 3 ออกจากสถานีนครปฐม เวลา 13.38 น. ถึงสถานีราชบุรี เวลา 14.39 น.รถเร็ว 27 ออกจากสถานีนครปฐม เวลา 17.36 น. ถึงสถานีราชบุรี เวลา 18.33 น.รถด่วน 3 ออกจากสถานีราชบุรี เวลา 14.41 น. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  25. จงอ่านเวลาจากหน้าปัดนาฬิกา และเขียนเวลาโดยใช้จุด เวลากลางวัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  26. จงอ่านเวลาจากหน้าปัดนาฬิกา และเขียนเวลาโดยใช้จุด เวลากลางคืน 1. 2. 3. 4. 5. 6. ย้อนกลับ หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก

  27. ต้องการออกจากโปรแกรม ใช่ ไม่ใช่

More Related