1 / 21

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node. Activity on Node. - เป็นอีกวิธีหนึ่งในการเขียนโครงข่ายกิจกรรมเพื่อการคำนวณและควบคุมระยะเวลาโครงการโดยแสดงกิจกรรมบน Node (Activity on Node - AON) หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า Precedence Diagram

Thomas
Télécharger la présentation

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node

  2. Activity on Node - เป็นอีกวิธีหนึ่งในการเขียนโครงข่ายกิจกรรมเพื่อการคำนวณและควบคุมระยะเวลาโครงการโดยแสดงกิจกรรมบน Node (Activity on Node - AON) หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า Precedence Diagram - ข้อด้อยของการเขียนโครงข่ายแบบ AOA ที่สำคัญอย่างหนึ่งคือหลายครั้งที่จำเป็นต้องอาศัยกิจกรรม Dummy Activity เข้าช่วย ทำให้เขียนไม่สะดวก สับสน นอกจากนี้จะมีลูกศรและ Node มากเกินไปในโครงการขนาดใหญ่ - AON จะช่วยให้การเขียนสะดวกขึ้นโดยการเขียนกิจกรรมลงใน Node เลยโดยที่ใช้สัญลักษณ์เป็นกล่องสี่เหลี่ยมแทน และเชื่อมโยงกิจกรรมด้วยลูกศรอีกทีหนึ่ง ดังตัวอย่าง

  3. CPM แบบ AON • การจัดทำ CPM ลักษณะ Activity on Node (AON) คือการแสดงกิจกรรมด้วย Node สี่เหลี่ยมแสดงความสัมพันธ์ด้วยลูกศร

  4. CPM แบบ AON • จะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องใช้ Dummy Activity 30 D B A F 10 20 50 60 C E 40

  5. CPM แบบ AON • การแสดงค่าต่างๆใน Node

  6. Activity Table • ตัวอย่าง

  7. CPM แบบ AON • Forward Calculation

  8. AOA • AOA D, 5 B,5 12 2 7 17 30 12, 2, 21, 0, 18, F, 3 18 A, 2 21 0 2 20 60 50 10 12, 18 C, 10 2 E, 6 12 12 40

  9. AON • คำนวณย้อนกลับ

  10. AOA • คำนวณย้อนกลับ AOA 12,13 D, 5 B,5 7 17 12 2 30 8 13 13 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 18 0 2 20 60 50 10 0 18 2 21 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 18 12 12

  11. AON • Critical Path, Total Float และ Free Float

  12. AOA • AOA 12,13 D, 5 B,5 7 17 12 2 30 8 6,5 13 13 1,1 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 18 0 2 20 60 50 10 0 0,0 18 2 21 0,0 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 18 12 12 0,0 0,0

  13. PERT Program Evaluation and Review Technique

  14. PERT • ถูกพัฒนาขึ้นประมาณปลายทศวรรษ 1950s โดย U.S. Navy’s Polaris Missile Program • ใช้หลักความน่าจะเป็นหรือการประมาณโอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จ โดยอาศัย ข้อมูลระยะเวลาแต่ละกิจกรรม ซึ่งมี 3 รูปแบบ • te = (a + 4m + b)/6

  15. PERT • te เวลาคาดหวัง (Expected Time) ของกิจกรรมนั้น • a = Optimistic เวลาต่ำสุด • m = Most likely time เวลาทั่วไป • b = Pessimistic time เวลาสูงสุด • te = (a + 4m + b)/6

  16. PERT • ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน • ค่าความแปรปรวน • ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานจากค่าเฉลี่ย • ใช้การแปลงค่าเวลาใดๆให้เป็นจำนวนของความเบี่ยงเบนมาตรฐานจากค่าเฉลี่ย Ts = เวลาใดๆ

  17. Normal Distribution Curve

  18. ขั้นตอนการคำนวณ • พิจารณาเฉพาะกิจกรรมวิกฤต • คำนวณหาเวลาเฉลี่ยของทุกกิจกรรมและของทั้งโครงการ (สายงานวิกฤตเป็นตัวควบคุมระยะเวลาโครงการ) • หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละกิจกรรม • หาค่าความแปรปรวนของแต่ละกิจกรรม หาค่ารวม • นำความแปรปรวนรวมหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทั้งโครงการ • นำค่าที่ได้หาความน่าจะเป็นที่โครงการจะเสร็จตามเวลาใดๆ

  19. EXAMPLE = 2.54

  20. EXAMPLE • หาโอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จภายใน 31 สัปดาห์ • = (31-30.67)/2.54 • = 0.13 พิจารณาตาราง Z • Prob ประมาณ 55% • - ต้องการทราบโอกาสที่โครงการจะเสร็จ ใน 35 สัปดาห์ • = (35-30.67)/2.54 • = 1.70 พิจารณาตาราง Z • Prob ประมาณ 95%

  21. EXAMPLE • โอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จภายใน 28 สัปดาห์ • = (28-30.67)/2.54 • = -1.05 พิจารณาตาราง Z • Prob ประมาณ 15 % • หากต้องการทราบที่โอกาส 70% โครงการจะใช้เวลาเท่าใด • พิจารณาตาราง Z = 0.52 • Ts = (0.52*2.54)+30.67 = 32 สัปดาห์

More Related