1 / 75

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557. ประเด็นนำเสนอ. 1. 2. 3. 1. ( ร่าง) เกณฑ์ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (ปีการศึกษา 2557) งานมหกรรมอุดมศึกษาไทย 2557 (24 เมษายน 2557)

dympna
Télécharger la présentation

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557

  2. ประเด็นนำเสนอ 1 2 3

  3. 1 (ร่าง) เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (ปีการศึกษา 2557) งานมหกรรมอุดมศึกษาไทย 2557 (24 เมษายน 2557) ประชาพิจารณ์ (9 ครั้ง : เครือข่ายภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ : พฤษภาคม – มิถุนายน 2557)

  4. เปรียบเทียบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปรียบเทียบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

  5. กรอบแนวคิดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2557

  6. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้มาตรฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้พัฒนา 13 ตัวบ่งชี้ 1.1 ตัวบ่งชี้มาตรฐาน : 1 ตัวบ่งชี้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 เกณฑ์การประเมิน : ประเมินรายหลักสูตร ผ่านและไม่ผ่าน หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (คะแนนเป็นศูนย์) และงดรับนักศึกษาในปีการศึกษาถัดไป

  7. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ) ตัวบ่งชี้พัฒนา : 13 ตัวบ่งชี้ แบ่งตามระดับปริญญาตรี โท เอก

  8. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)

  9. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ) อาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรหมายถึง อาจารย์ประจำที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนอื่นๆ ที่ได้รับการมอบหมายให้สอนในหลักสูตรนั้นๆ ในกรณีที่มีอาจารย์ประจำที่สอนมากกว่าหนึ่งหลักสูตรให้มีการกำหนดชื่อให้สังกัดเพียงหลักสูตรเดียวในระดับปริญญาตรี ยกเว้นหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

  10. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)

  11. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)

  12. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร (ต่อ)

  13. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับคณะ ประกอบด้วย : ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานระดับหลักสูตรและเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการในระดับคณะ จำนวน 8 ตัวบ่งชี้

  14. 2.8 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจและกลุ่มสถาบัน เกณฑ์มาตรฐาน 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และกลุ่มสถาบัน 2. การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตร 3. การบริหารความเสี่ยงต่อปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะ 4. การบริหารอัตรากำลังและพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 5. การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ 6. การจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ

  15. ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ระดับสถาบัน ประกอบด้วย : ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานระดับหลักสูตร ระดับคณะ และเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการในระดับสถาบัน จำนวน 10 ตัวบ่งชี้

  16. 3.9 การบริหารของสถาบันเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจและกลุ่มสถาบัน เกณฑ์มาตรฐาน 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และกลุ่มสถาบัน 2. การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตร 3. การบริหารความเสี่ยงต่อปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อคุณภาพการผลิตบัณฑิต 4. การบริหารอัตรากำลังและพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 5. การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ 6. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพสถาบัน

  17. 2 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน

  18. ตัวบ่งชี้ระดับสาขาวิชาตัวบ่งชี้ระดับสาขาวิชา • 8 ตัวบ่งชี้ • 2 ตัวบ่งชี้ • 2 ตัวบ่งชี้ • 4 ตัวบ่งชี้ • 1 ตัวบ่งชี้ • 1 ตัวบ่งชี้

  19. องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต จำนวน 8 ตัวบ่งชี้

  20. ตัวบ่งชี้ที่ 2.1: ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  21. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  22. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

  23. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (ต่อ)

  24. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (ต่อ)

  25. ข้อมูลประกอบการดำเนินงาน (ต่อ)

  26. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  27. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  28. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  29. ตัวบ่งชี้ที่ 2.7: การพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  30. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  31. ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 : ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  32. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  33. ตัวบ่งชี้ที่ 2.9.1:ร้อยละของบัณฑิตที่เข้ามากรอกข้อมูลภาวะของการมีงานทำ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานการติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)

  34. ตัวบ่งชี้ที่ 2.9.2 : บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานการติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)

  35. ตัวบ่งชี้ที่ 2.10:คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) ข้อมูลประกอบการพิจารณา : รายงานผลการสำรวจคุณภาพของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ปีการศึกษา 2556 (กองบริการการศึกษาเป็นผู้สำรวจและประเมินผล)

  36. ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 :การพัฒนาคณาจารย์ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น 6 เท่ากับ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • 1. รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมด • 2. รายงานสรุปจำนวนอาจารย์ประจำ จำแนกตามวุฒิการศึกษา และตำแหน่งวิชาการ ปีการศึกษา 2556

  37. องค์ประกอบที่ 3กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา จำนวน 2 ตัวบ่งชี้

  38. ตัวบ่งชี้ที่ 3.1:กลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) • หมายเหตุ : ถ้าไม่มีศิษย์เก่าอนุโลมให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 4

  39. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  40. ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 :กลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  41. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  42. องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จำนวน 4 ตัวบ่งชี้

  43. ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ การคิดรอบปี: ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557)

  44. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  45. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  46. ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 :เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ การคิดรอบปี: จำนวนเงินใช้ปีงบประมาณ (1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556) จำนวนอาจารย์ประจำสาขาวิชาใช้ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : • 1. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย = • 2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = หมายเหตุ :จำนวนอาจารย์ให้นับตามปีการศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ

  47. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

  48. ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 :งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ การคิดรอบปี: การตีพิมพ์เผยแพร่ใช้ปีปฏิทิน (1 มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556) จำนวนอาจารย์ประจำสาขาวิชาใช้ปีการศึกษา (1 มิถุนายน 2556 – 31 กรกฎาคม 2557) วิธีการคำนวณ : เกณฑ์การให้คะแนน : • ใช้บัญญัติไตรยางค์เทียบ กำหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5คะแนน หมายเหตุ :จำนวนอาจารย์ให้นับตามปีการศึกษา โดยนับที่ปฏิบัติงานจริงและรวมผู้ลาศึกษาต่อ

  49. ข้อมูลประกอบการดำเนินงานข้อมูลประกอบการดำเนินงาน

More Related