1 / 65

นายมนตรี ผาทอง 27 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมนิมมานนรดี รร.วรบุรี รีสอร์ท อยุธยา

การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2557 และการทำงานร่วมกันกับกระทรวงสาธารณสุขในระดับเขต. นายมนตรี ผาทอง 27 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมนิมมานนรดี รร.วรบุรี รีสอร์ท อยุธยา. สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม. PPN=PP National program, PPA=PP Area health service,

keita
Télécharger la présentation

นายมนตรี ผาทอง 27 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมนิมมานนรดี รร.วรบุรี รีสอร์ท อยุธยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2557 และการทำงานร่วมกันกับกระทรวงสาธารณสุขในระดับเขต นายมนตรี ผาทอง 27 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมนิมมานนรดี รร.วรบุรี รีสอร์ท อยุธยา

  2. สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิมสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม PPN=PP National program, PPA=PP Area health service, PPB=PP Basic services, DHS=Dental health services, PPD=PP Development

  3. โครงสร้างการจัดสรรเงินและอัตราที่เปลี่ยนไปโครงสร้างการจัดสรรเงินและอัตราที่เปลี่ยนไป

  4. กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตบริการกลุ่มเป้าหมายและขอบเขตบริการ กลุ่มเป้าหมาย • ประชากรไทยทุกสิทธิ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ขอบเขตการใช้บริการ • ตามสิทธิประโยชน์ที่ระบุของแต่ละกลุ่มวัย • ใช้บริการได้ที่หน่วยบริการทุกแห่งภายในจังหวัดที่ลงทะเบียนหรืออยู่อาศัย ยกเว้น กรณีฝากครรภ์และเด็ก ตามนโยบาย กสธ เฉพาะ รพ ในสังกัด กสธ

  5. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดระดับประเทศ • เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัย • เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วยและอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ • ยึดตัวชี้วัดและเป้าหมาย P&P ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเฉพาะ ที่เกี่ยวข้องกับบริการรายบุคคลและครอบครัวภายใต้ชุดสิทธิประ โยชน์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • ตัวชี้วัดที่กำหนดตามยุทธศาสตร์และสิทธิประโยชน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  6. เป้าหมาย ตัวชี้วัด PP ของ สธ.ปี 2557 • เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) และสตรี 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 2. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) • เด็กวัยเรียน (5-14 ปี) 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) • เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100 คะแนน) • เด็กวัยรุ่น/ นักศึกษา (15-21 ปี) 5. อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรอายุ 15-19 ปีพันคน) 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกิน 13) • คุณภาพการบริการ 7. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 8. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) • ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) • จร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 11. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ 12. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) • คุณภาพการบำบัดรักษา 13. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา (ร้อยละ 60) 14. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 15. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี 16. ร้อยละของผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3) รายบุคคลและครอบครัว:ระดับผลลัพธ์/ผลกระทบ

  7. แนวทางกำหนดตัวชี้วัดระดับเขตแนวทางกำหนดตัวชี้วัดระดับเขต • ยึดตัวชี้วัดและเป้าหมาย P&P ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเฉพาะ ที่เกี่ยวข้องกับบริการรายบุคคลและครอบครัว • ต่อรองเพิ่มเติมตัวชี้วัดที่ได้จาก HNA ยุทธศาสตร์ สปสช.ทั้งนี้ภายใต้สิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  8. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

  9. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน วัตถุประสงค์ • เพื่อจัดหา กระจายเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา และวัสดุให้แก่หน่วยบริการและหน่วยงาน • เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่สำคัญต่อการป้องกันหรือลดทอนปัญหาสาธารณสุขหรือภาระโรคที่สำคัญของประเทศ

  10. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน (1.1) Central Procurement 19.15 บาท/คน

  11. การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ • กลุ่มเป้าหมาย: ผู้สูงอายุมากกว่า65ปี, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค(ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ ไตวาย หลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน), หญิงตั้งครรภ์4 เดือนขึ้นไป และเด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี ทุกสิทธิ • เป้าหมายจำนวน 3.15 ล้านโด๊ส • เริ่มมีนาคม-เมษายน57 เพื่อเหลื่อมเวลากับการฉีดวัคซีนเด็กนักเรียน • ค่าบริการ 20 บาท/ผู้มิสิทธิ, 15 บาท/บุคลากร • ไม่มี ontop เพิ่มเติม • ค่าจัดการเป็นวงเงิน GB เขต:15,000 บาท/CUP xxxxx บาท/สสจ • ความเสี่ยง: กลุ่มเป้าหมายเข้าไม่ถึง เป็นผลให้วัคซีนเหลือและสูญเสีย

  12. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน (1.2) National priority Programs 3.85 บาท/คน

  13. การจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียการจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย กลุ่มเป้าหมาย • หญิงตั้งครรภ์ ทุกสิทธิ • คู่สมรสของหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยง สิทธิประโยชน์ • การตรวจคัดกรองเสี่ยง (MCV/OF/DCIP) • การตรวจยืนยันผลทุกขั้นตอน -Hb Typing -PCR -Mutation Analysis -การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ • การสิ้นสุดการตั้งครรภ์

  14. การจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียการจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย การจ่ายเงิน • การตรวจคัดกรองเสี่ยง - เหมาจ่ายรวมในPPE • การตรวจยืนยันผลทุกขั้นตอน - เบิกตรง สปสช. ส่วนกลาง • การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ - เหมาจ่ายรวมในIP หน่วยที่มีสิทธิเบิก • หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • หน่วยงานรัฐที่มีศักยภาพในการตรวจและวินิจฉัย

  15. การจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียการจ่ายการตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย อัตราการจ่าย • Hb Typing 250 บาท • PCR 350บาท • MutationAnalysis1200บาท • การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ 2500บาท วิธีการและเงื่อนไขเบิกจ่าย • แบบรายงานการตรวจยืนยัน Excel file -Download ที่ http://ppitem.nhso.go.th -ส่งผ่าน e-mail address: thalassemia.p@nhso.go.th • ข้อมูลต้องครบถ้วน ทั้งหญิงตั้งครรภ์และสามี

  16. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน • เพื่อจัดการให้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุก/บริการเสริมแก่ประชาชนทุกสิทธิให้เข้าถึงบริการอย่างครอบคลุมมากขึ้น • เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหาผลกำไร เพื่อดำเนินการหรือจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในพื้นที่ วัตถุประสงค์

  17. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.1) กองทุนฯท้องถิ่น(40+5 บาท/คน)

  18. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด21.38 บาท/คน

  19. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด21.38 บาท/คน

  20. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นบริการพื้นฐานสำหรับบุคคลและครอบครัวตามสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และตอบสนองต่อเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับเขต/ประเทศ วัตถุประสงค์

  21. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน 192 บาท/คน

  22. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน 192 บาท/คน

  23. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P วัตถุประสงค์ • เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผล และมีข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น • เพื่อพัฒนาระบบ กลไก การจัดการ การจัดบริการ และศักยภาพการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของหน่วยบริการ หน่วยงาน องค์กร/ภาคประชาชนในทุกระดับ

  24. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P7.50 บาท/คน

  25. บทบาทของ สปสช.ส่วนกลาง และสปสช.เขต ในการบริหารจัดการ

  26. งบ P&P ปีงบประมาณ 2557 ที่บริหารเป็น Global เขต

  27. งบสนับสนุนระบบบริการสาธารณสุข_P&P ปีงบประมาณ 2557 (จัดสรร Global เขต)

  28. ทิศทางการพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุขทิศทางการพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุข • การกำหนดบทบาท 2 ส่วนให้ชัดเจน • National Health Authority (NHA) & Regulator • Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHAของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซึ่งได้ขับเคลื่อน ตั้งแต่ 1 มค. 56

  29. สรุปกรอบการบริหารงาน PP ร่วมกันระหว่าง สธ.-สปสช. ( MOU 17 ธค. 2555และบอร์ด สปสช. เห็นชอบ เมื่อ 7 มค. 2556) 1. บทบาท สธ. เป็น National Health Authority & Providers ส่วน สปสช. เป็น National Health Security & Purchaser 2. ระดับเขตใช้กลไกที่มีอยู่ ได้แก่ คปสข. และ อปสข. (มี MOU และ กลไกหารือร่วมกัน) 3. กรอบงาน PP 3 กลุ่ม (Basic Service, National Program, และ Area Health) เริ่มปี 2557 4. สำหรับปี 2556 คงกรอบการบริหารงบ PP ไว้ 5 ส่วน (NPP, PPE, PPA, สนับสนุนส่งเสริม, ทันตกรรมส่งเสริม)

  30. กลไกการบริหารระบบระดับเขตกลไกการบริหารระบบระดับเขต มีกลไกหารือ (Negotiation body) ประกอบด้วยผู้แทน คปสข. และ อปสข. ฝ่ายละประมาณ ๕คน โดยมีประธาน อปสข. และผู้ตรวจราชการ เป็นประธานร่วม เพื่อหารือร่วมกันก่อนการจัดทำข้อตกลง (MOU)ระดับเขต ภายใต้กรอบ ๔ ประเด็น ได้แก่ เป้าหมาย/ตัวชี้วัด, แผนงาน/กลยุทธ, การติดตามประเมินผล, และรูปแบบการบริหารเงิน P&P ที่เกี่ยวข้อง (องค์ประกอบครบ ในคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1) • คปสข. มีหน้าที่ในการนำข้อตกลงดังกล่าวไปดำเนินการให้บรรลุตามข้อตกลงผ่านหน่วยบริการในพื้นที่ ทั้งในส่วนของ สธ. และนอก สธ. (อปสข. เขต 4 มอบการบริหารจัดการงบ PPA ในระดับเขต 2 บาทและงบสนับสนุน PP ให้ CFO เขตตรวจราชการ ดำเนินการต่อ ให้แล้วเสร็จก่อนวันประชุม อปสข.ครั้งต่อไป ในวันที่ 23 ธันวาคม 2556) • อปสข. มีหน้าที่บริหารการสนับสนุนเงินงบประมาณให้กับหน่วยบริการโดยตรง และกำกับติดตามและประเมินผล (M&E) การดำเนินงานตามข้อตกลง

  31. National Programs (NPP) Health Promotion & Prevention Basic Services (PPE) Area Health (PPA) กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน

  32. กระบวนการทำงาน Governance ผู้นำการเปลี่ยนแปลง รพสต. โรงพยาบาล โรงเรียน แกนนำประจำ ครอบครัว อสม.ท้องถิ่น ชุมชน ประชาชน ผู้ป่วย อปสข. คปสข. ศูนย์ฯ/อื่นๆ คณะทำงาน NODE เพิ่มขีดความสามารถให้ผู้นำการเปลี่ยนแปลง การกระทำต่างๆที่ต้องเกิดต่อกลุ่มปฏิบัติการ การกระทำต่างๆที่ต้องเกิดขึ้นเพื่อผู้รับผลประโยชน์ 6Building Blocks Design M&E Programe Project Service Delivery Selfcare Promotion Prevention Curative Rehabilitation ผลลัพท์ ตัวชี้วัด Share KPI สนับสนุน จัดหา Plan Check Act กระบวนการทำแผน

  33. แนวทางการทำงาน P&P ร่วมกันในระดับเขตพื้นที่ Input ผู้รับผิดชอบหลัก 8 flagship / แผนสุขภาพเขต 20 KPI basic service/ ปัญหาพื้นที่ 1.กำหนดตัวชี้วัด/ เป้าหมายในระดับเขต ภายใต้การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน คปสข. คปสข. 2. จัดทำกลยุทธ์งาน P&P ระดับเขต คปสจ. 3. จัดทำแผน P&P ระดับจังหวัด ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ระดับเขต งบ PPA / งบPP Basic service / งบสนับสนุนและส่งเสริมฯ/ งบ non-uc /ฯลฯ 1

  34. แนวทางการทำงาน P&P ร่วมกันในระดับเขตพื้นที่ (ต่อ) 1 ผู้รับผิดชอบหลัก 4. คณะทำงานร่วม ระดับเขต (ตัวแทน คปสข.+อปสข.) ร่วมพิจารณาแผน P&P ของจังหวัด ตัวแทน คปสข./อปสข. 5. เสนอแผน P&P ระดับจังหวัด(จากข้อ4) ต่อที่ประชุม อปสข. เพื่อพิจารณาอนุมัติงบสำหรับดำเนินการตามแผน อปสข./สปสช.เขต - คปสข. (Internal Evaluation) - อปสข. (External Evaluatin) 6. กำกับติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามแผนและรายงานผลต่อที่ประชุม อปสข.

  35. การติดตามประเมินผล กระทรวงสาธารณสุขและ สปสช. จะร่วมกันดำเนินการ • ระดับชาติ ให้มีการประเมินภาพรวม และการประเมินผลการดำเนินงานระดับเขต ผ่านกลไกการกำกับประเมินผลภายใน และการประเมินผลภายนอก • ระดับเขต ให้มีการติดตามประเมินผลร่วมกัน ระหว่าง คปสข. และ อปสข. เป็น 3 รูปแบบ 1) เป้าหมายตามข้อตกลงระดับเขต ด้วยตัวชี้วัด (KPI) 2) การกำกับและประเมินผลเชิงคุณภาพ (M&E) 3) การติดตามประเมินผลจากภายนอก (External evaluation)

  36. ข้อสรุปการบริหารงาน การบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 (อปสข.เขต 4 สระบุรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556) National Health Security Office , Thailand

  37. ความเป็นมา กรอบแนวคิดหลักการบริหารค่าบริการP&P • ครอบคลุมบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกคน • กรอบการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อ • บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทั้งที่เป็นปัญหาความสำคัญในระดับ ประเทศ/เขต/จังหวัด/หน่วยบริการ/ชุมชน และนโยบายที่เน้นหนักของ รัฐบาล • สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P • ผู้ดำเนินการจัดบริการจะเป็นหน่วยบริการ สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีการจัดบริการ P&P • กระจายอำนาจการบริหารจัดการให้ระดับเขตและจังหวัด • ประสานร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข National Health Security Office , Thailand

  38. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดระดับประเทศ • เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัย • เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วยและอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ • ยึดตัวชี้วัดและเป้าหมาย P&P ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเฉพาะ ที่เกี่ยวข้องกับบริการรายบุคคลและครอบครัวภายใต้ชุดสิทธิประ โยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • ตัวชี้วัดที่กำหนดตามยุทธศาสตร์และสิทธิประโยชน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  39. การดำเนินงานเพื่อพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สปสช.เขต 4 จากคู่มือการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เล่มที่ 1 ส่วนที่ 2 ปี 2557 (หน้า 142) กำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายต้องเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ด้านบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับประชาชนในพื้นที่ และมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดที่ สปสช.กำหนด ทั้งนี้แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นของ อปสข.

  40. การดำเนินงานเพื่อพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สปสช.เขต4 1 แต่งตั้งคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เขต 4 (ใช้คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ) 2 ประชุมคณะทำงานเพื่อยกร่างการบริหารจัดการงบประมาณ และตัวชี้วัดการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ข้อเสนอการบริหารจัดการและตัวชี้วัดผลงานและคุณภาพงานให้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพผลงาน(QOF) เสนอในวันที่ 18 -19 พฤศจิกายน 2556 3.เสนอการบริหารงบประมาณและตัวชี้วัดฯ ขอรับการอนุมัติการบริหารงบประมาณจาก อปสข. ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556

  41. การอนุมัติการบริหารงบประมาณ UC ในส่วน PP ปี 2557 1 กรอบบริหารงบประมาณ PPA 114,219,827.84 บาท 2 กรอบบริหารงบประมาณ PP.BS 106,847,360.00 บาท 3 กรอบบริหารงบประมาณ PPD 32,054,208 บาท

  42. ประชากรดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในปี 2557

  43. P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) จังหวัด/เขต (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ

  44. งบ P&P ปีงบประมาณ 2557 ที่บริหารเป็น Global เขต

  45. งบสนับสนุนระบบบริการสาธารณสุข_P&P ปีงบประมาณ 2557 (จัดสรร Global เขต)

  46. กรอบแนวทางบริหารงบบริการP&P ปี 2557ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ จำนวน 23 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ

  47. กรอบแนวทางบริหารงบบริการP&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ จำนวน 66.38 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ

  48. กรอบแนวทางบริหารงบบริการP&P ปี 2557ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน จำนวน 192 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ

  49. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P จำนวน 7.50 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่าย

  50. ผลการประชุม PPA 2 บาทเป็นการสนับสนุนงาน Service plan ด้านบริการที่เกี่ยวข้องกับ PP (ยุทธศาสตร์เขตเครือข่ายบริการที่ 4 จำนวน 10,684,736 บาท) 1.38 บาทในการสนับภาคประชาชน/เอกชน/จังหวัด/พื้นที่/เขต(โครงการ 7,372,467.84 บาท)

More Related