1 / 30

20 มกราคม 2551

พรบ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก. 20 มกราคม 2551. 4. ระบบประกันเงินฝาก. วัตถุประสงค์ ป้องกันการ run สร้างความมั่นคงให้แก่ระบบสถาบันการเงิน ปัญหา / ข้อกังวล Moral hazard (เกิดวัฒนธรรมที่ไม่ดี) รูปแบบของระบบประกันเงินฝากในประเทศต่าง ๆ ไม่มีเลย ไม่ชัดเจน

slone
Télécharger la présentation

20 มกราคม 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พรบ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 20 มกราคม 2551

  2. 4 ระบบประกันเงินฝาก วัตถุประสงค์ ป้องกันการ run สร้างความมั่นคงให้แก่ระบบสถาบันการเงิน ปัญหา / ข้อกังวล Moral hazard (เกิดวัฒนธรรมที่ไม่ดี) รูปแบบของระบบประกันเงินฝากในประเทศต่าง ๆ ไม่มีเลย ไม่ชัดเจน ชัดเจน - ประกันเต็มจำนวน - ประกันบางส่วน

  3. 5 เงินฝากของ ธพ.(รวมสาขา ธพ. ต่าง ป.) เงินฝาก ธพ. ณ 30 ก.ย. 2550 รวมทั้งสิ้น 6,710,763 ล้านบาท จ่ายเมื่อทวงถาม ( 5.03 %)337,671 ล้านบาท ออมทรัพย์ (40.22 %) 2,699,047 ล้านบาท 3 เดือน (22.63 %) 1,518,412 ล้านบาท 6 เดือน (10.36 %) 695,121 ล้านบาท 1 ปี (13.91 %) 933,472 ล้านบาท 2 ปี ( 3.63 %) 244,044 ล้านบาท เกินกว่า 2 ปี ( 4.22 %) 282,996 ล้านบาท

  4. 6 เงินให้สินเชื่อของ ธพ. (รวม Out-Out & Out-In) ณ กย. 2550 รวมทั้งสิ้น 6,073,702ล้านบาท รัฐบาล & รัฐวิสาหกิจ 186,535 ล้านบาท 3.07% กองทุนต่าง ๆ 1,646ล้านบาท 0.03% ธุรกิจ 3,399,277 ล้านบาท 55.97% บุคคลธรรมดา 1,906,127 ล้านบาท 31.38% สถาบันการเงินใน ป. 357,380 ล้านบาท 5.88% สถาบันการเงินนอก ป. 27,570 ล้านบาท 0.45% สถาบันที่ไม่หากำไร 3,139 ล้านบาท 0.06% บุคคลผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ 192,028 ล้านบาท 3.16%

  5. 7 อัตราส่วนของ ธพ.ทั้งระบบ อัตราส่วน เงินให้สินเชื่อ / เงินฝาก(ไม่รวม IBF ) ธค. 2536 103.49 % ธค. 2543 86.36 % ธค. 2537 110.65 % ธค. 2544 79.40 % ธค. 2538 112.97 % ธค. 2545 85.14 % ธค. 2539 112.13 % ธค. 2546 83.82 % ธค. 2540 109.88 % ธค. 2547 87.89 % ธค. 2541 99.02 %ธค. 2548 89.66 % ธค. 2542 99.70 %ธค. 2549 89.03 % กย. 2550 90.51 %

  6. 8 ระบบประกันเงินฝาก (ต่อ) การพิจารณารูปแบบขององค์กร - อำนาจ / ภาระหน้าที่ - กระบวนการปฏิบัติงาน - โครงสร้าง / ขนาดขององค์กร (ใหญ่ / เล็ก) - ทรัพยากร - บุคคล - อื่น ๆ ความเกี่ยวพันกับสถาบันการเงิน - รัฐ / สมาชิก

  7. 9 ระบบประกันเงินฝาก (ต่อ) Funding ของ องค์กร - แหล่งที่มาของทุนประเดิม - จำนวน / ขนาดของทุนที่เพียงพอ - ค่าธรรมเนียม อัตราเดียว / ตามความเสี่ยง สมาชิกของระบบประกันเงินฝาก - บังคับ / สมัครใจ - สถาบันการเงิน ธพ. ใน ป. / ต่าง ป. ธพ. ของรัฐ Non-bank

  8. 10 ระบบประกันเงินฝาก (ต่อ) การคุ้มครองเงินฝาก - ขอบเขต เงินฝากสกุลท้องถิ่น / Fx - การรับผิดชอบร่วมกัน ผู้ฝาก กับ องค์กร เสริมสร้าง Market Discipline - วงเงินที่รับประกัน การจ่ายเงินให้ผู้ฝาก - กรณีใดบ้าง / เมื่อไร - ชำระโดยวิธีใด / การรับโอนสิทธิในเงินฝาก

  9. ข้อจำกัดการประกันเงินฝากในปัจจุบันข้อจำกัดการประกันเงินฝากในปัจจุบัน 1. ประกันเงินฝากแบบเต็มจำนวนเป็นภาระทางการคลัง แก่รัฐ และภาระภาษีของประชาชนมากเกินไป 2. เกิด Moral Hazard ต่อสถาบันการเงินและผู้ฝาก 3. ประกันเงินฝากเป็นมาตรการชั่วคราวตามมติ ครม. ไม่ชัดเจนเหมือนกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะ 4. องค์กรมีข้อจำกัด ขาดความเป็นอิสระในการบริหารงาน 5. กระบวนการชำระบัญชีใช้เวลานานทำให้สินทรัพย์ของ สถาบันการเงินเสื่อมมูลค่าลง

  10. ประเด็นสำคัญใน พ.ร.บ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก (1) จัดตั้งสถาบันคุ้มครองเงินฝากทำหน้าที่คุ้มครองเงินฝากของประชาชน และชำระบัญชีของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต และมี “กองทุนคุ้มครองเงินฝาก” โดยเฉพาะ (2) กำหนดวงเงินคุ้มครองผู้ฝากไว้ในกฎหมายไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อรายในแต่ละสถาบันการเงิน แต่ในช่วง 4 ปีแรก มีบทเฉพาะกาลคุ้มครองได้มากกว่า (3) กำหนดระยะเวลาที่ผู้ฝากเงินจะได้รับเงินคืนเมื่อสถาบันการเงินถูกเพิกถอนใบอนุญาตภายใน 30 วัน

  11. โครงสร้าง พรบ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก หมวด 1 สถาบันคุ้มครองเงินฝาก - การจัดตั้งและทุน - การเงิน การบัญชี และการสอบบัญชี - คณะกรรมการ - ผู้อำนวยการ - ประโยชน์ตอบแทนและความคุ้มครองการปฏิบัติงาน หมวด 2 การดำเนินการเกี่ยวกับสถาบันการเงิน หมวด 3 การคุ้มครองเงินฝาก - กองทุนคุ้มครองเงินฝาก - เงินฝากที่ได้รับการคุ้มครอง - การจ่ายเงินแก่ผู้ฝากเงิน หมวด 4 การชำระบัญชี สง. บทเฉพาะกาล

  12. สรุปสาระใน พรบ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก กองทุนคุ้มครองเงินฝาก เงินฝากที่คุ้มครอง และการจ่ายเงินแก่ผู้ฝาก การดำเนินการและติดตามฐานะของ สง. การชำระบัญชี สง. ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต บทเฉพาะกาล 14

  13. สถาบันคุ้มครองเงินฝากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก วัตถุประสงค์ (ม. 6) 1. คุ้มครองเงินฝากใน สง. 2. สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพระบบ สง. 3. ดำเนินการกับ สง.ที่ถูกควบคุม และชำระบัญชี สง. ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต สถานะของสถาบันคุ้มครองเงินฝาก (ม. 11) - เป็นหน่วยงานของรัฐ - ไม่เป็นส่วนราชการ และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ - รายได้ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน

  14. คณะกรรมการ (ม. 19) จำนวน 7 - 9 คน ประกอบด้วย 1. ประธาน 2. ผู้แทนคลัง 3. ผู้แทน ธปท. 4. ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 - 5 คน (ด้านการเงินการคลัง / ด้านกฎหมาย ด้านละ 1 คน) 5. ผู้อำนวยการสถาบัน ประธานฯ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระ 4 ปี แต่จะเป็นติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้

  15. ผู้อำนวยการสถาบัน (ม. 28) - ครม. แต่งตั้ง โดยคำแนะนำของ รมต. - วาระ 4 ปี เป็นติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ ทุนของสถาบัน (ม. 9, 10) - ทุนประเดิมไม่เกิน 1,000 ล้านบาท (รัฐบาลจัดสรรให้) - เงิน หรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของสถาบัน / มีผู้มอบให้ - ดอกผลของกองทุนคุ้มครองฯ ที่ คกก. จัดสรรให้ - ดอกผล หรือรายได้จากเงินหรือทรัพย์สินของสถาบัน

  16. ก่อน สง. ถูกควบคุม(ม. 38 - 44) - ให้ สง. ยื่นรายงานลับ - หน่วยงานส่งข้อมูล สง. ให้แก่กันและกัน - ขอให้ ธปท. เข้าตรวจสอบ สง. และเข้าร่วมด้วย - แจ้งให้ ธปท. พิจารณาดำเนินการตามกฎหมายกับ สง. - ให้กรรมการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ผู้สอบบัญชี หรือ ผู้เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ (รวมอดีตกรรมการ พนักงาน ผู้เกี่ยวข้องที่พ้นตำแหน่งไม่เกิน 5 ปี) - เปิดเผยความผิด และการลงโทษผู้กระทำความผิด การดำเนินการและติดตามฐานะของ สง.

  17. เมื่อ สง. ถูกควบคุม(ม. 45) - เสนอรายชื่อ คกก. ควบคุม หลัง สง. ถูกเพิกถอนใบอนุญาต(ม. 56 - 64) - ชำระบัญชี สง. - ส่งมอบทรัพย์สินและเอกสารให้ จพท. เมื่อศาลมีคำสั่ง พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

  18. แหล่งได้มา (ม. 47) - เงินที่ สง. นำส่ง - เงินที่กู้มาเพื่อจ่าย ให้แก่ผู้ฝาก - ดอกผลกองทุน - เงินที่รับบริจาค - เงินหรือทรัพย์สินที่ได้ จากการชำระบัญชี แหล่งใช้ไป (ม. 47) - จ่ายเงินให้ผู้ฝาก - จ่ายคืนต้นเงินกู้และ ดอกเบี้ย - จ่ายค่าบริหารจัดการ กองทุน - จัดสรรดอกผลสุทธิ ให้สถาบัน (ม. 48) กองทุนคุ้มครองเงินฝาก

  19. เงินนำส่ง • อัตราเงินนำส่ง (ม. 49 - 50) ในครั้งแรก ต้องกำหนดอัตราเดียว ครั้งต่อไป จะแตกต่างตามประเภท / ฐานะ สง. ก็ได้ • กำหนดอัตราโดยพระราชกฤษฏีกา ต้องไม่เกิน 1% ของ ยอดเงินฝากถัวเฉลี่ยของบัญชีที่ได้รับการคุ้มครอง • หลักเกณฑ์การคำนวณยอดเงินฝากถัวเฉลี่ย ตามที่ คกก. กำหนด / ประกาศราชกิจจานุเบกษา • ไม่ส่ง / ส่งไม่ครบ / ส่งล่าช้า เสียเงินเพิ่ม 2% ต่อเดือน • หนี้เงินนำส่ง / เงินเพิ่ม = หนี้บุริมสิทธิต่อจากภาษี

  20. เงินฝากที่คุ้มครอง เงินฝากทุกประเภทที่เป็นเงินบาทของ สง. ในประเทศ โดยไม่รวม Non-resident Baht Account ดอกเบี้ยค้างจ่ายจนถึงวันที่ สง. ถูกเพิกถอนใบอนุญาต วงเงินคุ้มครองต่อราย 1 ล้านบาท ต่อ สง. (รวมทุก บ/ช) ตราเป็นพระราชกฤษฏีกาเพิ่มวงเงินคุ้มครอง ให้ทั่วไป / ให้ผู้ฝากเงินประเภทใดเพื่อความเป็นธรรม (ม. 52 - 54) 22

  21. การยื่นขอรับเงินและการจ่ายเงินการยื่นขอรับเงินและการจ่ายเงิน ยื่นคำขอรับเงินภายใน 90 วันนับแต่วันที่สถาบันประกาศ (รมต. สั่งขยายได้อีก 2 ครั้ง ๆ ละไม่เกิน 90 วัน) หรือ 90 วันนับแต่เหตุสุดวิสัยสิ้นสุดลง สถาบันจะชำระเงินภายใน 30 วันนับแต่วันที่ยื่นคำขอ โดยหักหนี้ค้างชำระก่อนจึงจ่ายเงินที่เหลือแก่ผู้ฝาก ผู้ฝากที่มิได้ยื่นคำขอ / ได้รับการคุ้มครองไม่ครบ มีสิทธิขอรับจาก สง. ในกระบวนการชำระบัญชี 23

  22. วงเงิน 1 ล้านบาท / ราย / สถาบันการเงิน • คุ้มครองผู้ฝากในระบบ 98.57% หรือประมาณ 51.8 ล้านราย (ณ มิถุนายน 2550) • ประมาณ 8.3 เท่าของ GDP per capita

  23. ข้อมูลเงินฝาก คุ้มครอง วงเงิน 1 ล้านบาท/ราย/สถาบันการเงินแต่ละแห่ง เงินฝากทั้งระบบ 6,559,378 ล้านบาท ผู้ฝากทั้งระบบ 52,596,124 ราย

  24. วงเงินคุ้มครองของต่างประเทศวงเงินคุ้มครองของต่างประเทศ

  25. บทเฉพาะกาล - เมื่อจัดตั้งสถาบันคุ้มครองเงินฝากแล้ว ให้ยกเลิกการประกันเงินฝากโดยกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ - ใน 4 ปีแรกของการบังคับใช้กฎหมาย จะคุ้มครอง เงินฝากสูงกว่า 1 ล้านบาท โดยทยอยลดวงเงินที่คุ้มครอง

  26. การทยอยลดวงเงินคุ้มครองการทยอยลดวงเงินคุ้มครอง เต็มจำนวน 100 ลบ. 50 ลบ. พรบ. ประกาศในราชกิจจาฯ 10 ลบ. 1 ลบ. 180 วัน ปีที่ 1 2 3 4 5 เริ่มใช้ สค.51 สค.52 สค.53 สค.54 สค.55 กองทุนฟื้นฟู สถาบันคุ้มครองเงินฝาก

  27. เปรียบเทียบ 2 ระบบ

  28. Q & A

More Related